กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง


“ โครงการธนาคารขยะ ”

ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณี เรืองมณี

ชื่อโครงการ โครงการธนาคารขยะ

ที่อยู่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L5144-02-14 เลขที่ข้อตกลง 014/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการธนาคารขยะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการธนาคารขยะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการธนาคารขยะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L5144-02-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่องค์การบริหารส่วนตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา ได้ดำเนินการจัดการขยะในพื้นตำบลกาลูปังโดยการบริหารจัดการขยะด้วยตนเอง ดั้งนั้นเพื่อส่งเสริมการจัดการขยะมูลฝอยที่ต้นทาง ซึ่งเป็นการจัดการที่ยั่งยืน คือการลดปริมาณขยะจากแหล่งกำเนิดต้นทาง (Reduce) การใช้ซ้ำ (Reuse) และการนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) หรือตามหลัก 3Rs ซึ่งการจัดการขยะนั้นมุ่งเน้นการจัดการขยะที่ครัวเรือนส่งเสริมการคัดแยกขยะจากต้นทาง เป็นการเพิ่มมูลค่าหรือแปรรูปขยะ ซึ่งจะส่งผลทำให้ปริมาณขยะในภาพรวมของตำบลกาลูปังลดลง ปัจจุบันตำบลกาลูปัง มีจำนวนประชากร จำนวน 3,159 คน ส่งผลให้ปริมาณขยะที¬เกิดขึ้นจากกิจกรรมในด้านต่างๆ ของประชากรเพิ่มมากขึ้นด้วยเช่นกัน ซึ่งทาง อบต.กาลูปัง ได้จัดตั้งภาชนะถังขยะรองรับตามจุดต่างๆ และการทิ้งขยะก็ยังไม่มีการคัดแยกประเภทขยะทีชัดเจนแต่อย่างใด ทำให้ปริมาณขยะทีต้องนำไปกำจัดมีมากขึ้น จากเหตุผลดังกล่าวอาจทำให้ส่งผลกระทบต่อการจัดการขยะและสภาพแวดล้อมในอนาคตได้ ดังนั้น เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกให้กับประชาชน ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญถึงการเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะ ซึ่งในการจัดทำโครงการธนาคารขยะ จึงเป็นรูปแบบหนึ่งของการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะให้ถูกวิธี สามารถสร้างรายได้ ลดปริมาณขยะและมีกิจกรรมการการสร้างความสามัคคีกันในชุมชน เพื่อให้มีระบบการจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดโรคระบาดต่างๆ เช่นโรคที่เกิดจากเชื้อจุลินทรีย์ต่างๆ เช่น ไวรัส รา หรือแบคทีเรียในขยะมูลฝอยที่ตกค้างบนพื้น ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ชั้นดีของหนู ยุง แมลงสาบ และแมลงวัน พาหะนำโรคภัยต่างๆ มาสู่มนุษย์ เช่น โรคท้องร่วง โรคพยาธิต่างๆ โรคบิด รวมถึงเชื้ออหิวาตกโรค และไทฟอยด์ ถ้าหากเรารับประทานอาหารที่มีการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ต่างๆก็จะทำให้ได้รับเชื้อต่างๆได้ ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลกาลูปังจึงจัดทำโครงการธนาคารขยะขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาต่างให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลกาลูปัง มีสภาพแวดล้อมและสุขภาพอนามัยที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างวินัยในการจัดการขยะให้กับประชาชน 2 เพื่อสร้างจิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อม ให้กับประชาชน 3 เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของมนุษย์ หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม 4. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ประชาชนเกิดแนวคิดที่ดีต่อการจัดการขยะมูลฝอยและเข้าใจคุณค่าของสิ่งต่าง ๆว่าวัสดุบางประเภทสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายครั้งหรือสามารถเปลี่ยนเป็นเงินได้ 2 การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากภูมิปัญญาของบุคลากรหน่วยงานและองค์กรในท้องถิ่น
3 ได้แนวทางและรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกจิตสำนึกด้านการจัดการบริหารขยะที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

คืนเงินให้แก่กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลกาลูปัง เนื่องจากไม่สามารถดำเนินการโครงการได้ตามเวลาที่กำหนด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างวินัยในการจัดการขยะให้กับประชาชน 2 เพื่อสร้างจิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อม ให้กับประชาชน 3 เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของมนุษย์ หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม 4. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด :
30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างวินัยในการจัดการขยะให้กับประชาชน  2  เพื่อสร้างจิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อม ให้กับประชาชน  3  เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของมนุษย์ หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม 4.  เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการธนาคารขยะ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L5144-02-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณี เรืองมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด