กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย


“ โครงการแก้ปัญหายาเสพติด(บุหรี่)ในโรงเรียน ”

ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจาริยา เพ็ชรจำรัส

ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหายาเสพติด(บุหรี่)ในโรงเรียน

ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3335-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ปัญหายาเสพติด(บุหรี่)ในโรงเรียน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหายาเสพติด(บุหรี่)ในโรงเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ปัญหายาเสพติด(บุหรี่)ในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3335-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มีนาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญ ทำให้เกิดโรคที่คุกคามและเป็นอันตรายต่อชีวิตได้แก่ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรงมะเร็งปอด โรคหลอดเลือด เป็นต้น จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ.2559 พบว่าคนไทยที่อายุเกิน 15 ปี และสูบบุหรี่มากถึงเกือบ 11 ล้านคน โดยในจำนวนนี้ 9.5 ล้านคนสูบบุหรี่เป็นประจำ และอีก 1 ล้านคนเศษ สูบเป็นครั้งคราว เมื่อเปรียบเทียบการสำรวจเมื่อ พ.ศ.2561 พบว่า จำนวนผู้สูบบุหรี่ในขณะนี้ลดลงเพียงเล็กน้อย (ไม่ถึงร้อยละ 5 ) เชื่อกันว่าเป็นผลมาจากประเทศไทยไม่มีการให้บริการช่วยเลิกบุหรี่อย่างเป็นระบบและไม่ทั่วถึง จากการประเมินสถานการณ์ดังกล่าวพบว่าหากบุคคลเหล่านี้ไม่เลิกสูบบุหรี่ จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคอันสืบเนื่องจากการสูบบุหรี่ไม่ต่ำกว่า 1 ใน 4 หรือกว่า 2 ล้านคน พื้นที่ รพ.สต.บ้านโคกทราย จำนวนประชากรทั้งหมด 2399 คน โดยช่วงอายุ 15-70 ปี มีจำนวน 1,774 คน (ข้อมูลจาก JHCIS ปี พ.ศ.2563) พฤติกรรมของคนสูบบุหรี่ใน ตำบลดอนทราย สามารถสูบบุหรี่ได้ทุกสถานที่ ไม่มีพื้นที่กำหนดเฉพาะ จึงมีโอกาสเสี่ยงที่ทำให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่เพิ่มขึ้น และผู้ที่สูบบุหรี่อยู่ก่อนแล้วมีโอกาสสูบติดต่อจำนวนหลายมวนด้วยความเคยชินและประเด็นสำคัญคือทำให้ผู้ที่อยู่รอบข้างได้รับพิษควันบุหรี่ ซึ่งมีภาวะเสี่ยงทำให้เกิดโรคไม่แตกต่างจากคนสูบบุหรี่หรืออาจจะมากกว่าคนสูบบุหรี่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์และช่วยให้สมาชิกในชุมชนเลิกบุหรี่ได้
  2. เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนในพื้นที่ทราบและเข้าร่วมโครงการ
  2. สำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย
  3. จัดทำทะเบียน กลุ่มติดบุหรี่ กลุ่มเสี่ยง รวมถึงกลุ่มประชาชนที่มีความประสงค์เข้าร่วมโครงการ
  4. สนับสนุนให้ชุมชนจัดภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ และส่งเสริมการปฏิบัติตามกฎหมาย จัด โซนนิ่งเขตสูบบุหรี่/ไม่สูบบุหรี่
  5. ประชุมชี้แจงร้านค้าจำหน่ายบุหรี่ในชุมชน
  6. ส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด เช่น ร้านค้าในชุมชนห้ามขายบุหรี่ แก่เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี การห้ามติดป้ายโฆษณาบุหรี่
  7. จัดอบรมพัฒนาศักยภาพ แกนนำ อสม.และแกนนำชุมชน
  8. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ความตระหนัก และค่านิยมที่ถูกต้อง พัฒนาศักยภาพทักษะปฏิเสธ+พิษภัยของบุหรี่ ในนักเรียนชั้นประถมศึกษา
  9. จัดกิจกรรมรณรงค์ให้เกิดความรู้ ความตระหนัก และค่านิยมที่ถูกต้อง พัฒนาศักยภาพทักษะปฏิเสธ+พิษภัยของบุหรี่ ในวัยรุ่น
  10. ประเมินติดตามร้านจำหน่ายบุหรี่ในชุมชน/ในโรงเรียน
  11. ร่วมมือกับโรงพยาบาล เพื่อส่งต่อผู้ที่ต้องการเลิกบุหรี่เข้า รับคำปรึกษาแนะนำและรักษา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดการคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบยาสูบโดยลดการสัมผัสควันยาสูบมือสอง โดยการสร้างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการไม่สูบในชุมชน
  2. ร้านค้ามีความรู้ความเข้าใจปฏิบัติตามกฎหมายบุหรี่
  3. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโทษของบุหรี่ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพมีทักษะการปฏิเสธ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมพัฒนาศักยภาพ แกนนำ อสม.และแกนนำชุมชน

วันที่ 24 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารกลางวันผู้เข้ารับการอบรมพัฒนาศักยภาพ จำนวน 50คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อ
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มผู้เข้ารับการอบรมพัฒนาศักยภาพ จำนวน 50คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท
  • ป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ค่าอาหารกลางวันผู้เข้ารับการอบรมพัฒนาศักยภาพ จำนวน 50คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อ
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มผู้เข้ารับการอบรมพัฒนาศักยภาพ จำนวน 50คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อ
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท
  • ป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย

 

0 0

2. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ความตระหนัก และค่านิยมที่ถูกต้อง พัฒนาศักยภาพทักษะปฏิเสธ+พิษภัยของบุหรี่ ในนักเรียนชั้นประถมศึกษา

วันที่ 25 สิงหาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมให้ความรู้ จำนวน 45 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อ
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมให้ความรู้ จำนวน 45 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมให้ความรู้ จำนวน 45 คนๆละ 70 บาท จำนวน 1 มื้อ
  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมให้ความรู้ จำนวน 45 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์และช่วยให้สมาชิกในชุมชนเลิกบุหรี่ได้
ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชนลดลงเหลือ(ร้อยละ)
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ
ตัวชี้วัด : การได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะลดลงเหลือร้อยละ 20
0.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์และช่วยให้สมาชิกในชุมชนเลิกบุหรี่ได้ (2) เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนในพื้นที่ทราบและเข้าร่วมโครงการ (2) สำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย (3) จัดทำทะเบียน กลุ่มติดบุหรี่ กลุ่มเสี่ยง รวมถึงกลุ่มประชาชนที่มีความประสงค์เข้าร่วมโครงการ (4) สนับสนุนให้ชุมชนจัดภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ และส่งเสริมการปฏิบัติตามกฎหมาย จัด โซนนิ่งเขตสูบบุหรี่/ไม่สูบบุหรี่ (5) ประชุมชี้แจงร้านค้าจำหน่ายบุหรี่ในชุมชน (6) ส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด เช่น ร้านค้าในชุมชนห้ามขายบุหรี่ แก่เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี การห้ามติดป้ายโฆษณาบุหรี่ (7) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพ แกนนำ อสม.และแกนนำชุมชน (8) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ความตระหนัก และค่านิยมที่ถูกต้อง พัฒนาศักยภาพทักษะปฏิเสธ+พิษภัยของบุหรี่ ในนักเรียนชั้นประถมศึกษา (9) จัดกิจกรรมรณรงค์ให้เกิดความรู้ ความตระหนัก และค่านิยมที่ถูกต้อง พัฒนาศักยภาพทักษะปฏิเสธ+พิษภัยของบุหรี่ ในวัยรุ่น (10) ประเมินติดตามร้านจำหน่ายบุหรี่ในชุมชน/ในโรงเรียน (11) ร่วมมือกับโรงพยาบาล เพื่อส่งต่อผู้ที่ต้องการเลิกบุหรี่เข้า รับคำปรึกษาแนะนำและรักษา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ปัญหายาเสพติด(บุหรี่)ในโรงเรียน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3335-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจาริยา เพ็ชรจำรัส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด