กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง


“ โครงการป้องกันวัณโรค ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเนียง ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาฟีฟะห์ เจ๊ะมามะ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันวัณโรค

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเนียง ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันวัณโรค จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเนียง ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันวัณโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันวัณโรค " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเนียง ตำบลเปาะเส้ง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปาะเส้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย องค์การอนามัยโลกจัดให้เป็น 1 ใน 14 ประเทศของ โลกที่มีภาระวัณโรค วัณโรคที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี และวัณโรคดื้อยาหลายขนานสูง จากรายงานองค์การอนามัยโลกปี 2559 คาดประมาณว่าประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรค 120,000 ราย ผู้ป่วยวัณโรคที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี 15,000 รายและผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน 4,500 ราย จากผลการดำเนินงานวัณโรคของประเทศไทยปี 2559 พบว่าผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษาวัณโรค 73,756 ราย โดยมีอัตราสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคร้อยละ 77.6 จำเป็นต้องเร่งรัดความสำเร็จการรักษาให้ได้ตามเป้าหมายที่ร้อยละ 90 โดยเร่งรัดลดการตายลดการขาดยา    และพัฒนาระบบส่งต่อและติดตามผลการรักษา (สำนักวัณโรค กลุ่มยุทธศาสตร์และประเมินผล ปรับปรุงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2560) สำหรับสถานการณ์วัณโรคในเขตสุขภาพที่ 12 พบว่า อัตรารักษาวัณโรคสำเร็จ คิดเป็นร้อยละ 81.5 เสียชีวิตร้อยละ 5.2 ปัจจุบันสถานการณ์โรควัณโรคในจังหวัดยะลา คาดประมาณจำนวนผู้ป่วยวัณโรค 1,242 ราย ขึ้นทะเบียนจำนวน 425 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.6 (ข้อมูล NTIP 22 สิงหาคม 2562) โดยพบว่ามีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทุกปี และยังไม่มีแนวโน้มลดลง สำหรับตำบลเปาะเส้ง ในปีงบประมาณ 2563 ที่ผ่านมา พบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ จำนวน 2 ราย อยู่ในช่วงการรักษา 1 ราย และเสียชีวิต 1 ราย การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในชุมชนจึงเป็นการ ตัดวงจรการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคได้เป็นอย่างดีและยังทำให้ผู้ที่ติดเชื้อวัณโรคได้รับการขึ้นทะเบียนรักษาด้วยยาวัณโรคอย่างถูกต้องและถูกวิธีตลอดการรักษาจนหายและใช้ชีวิตร่วมกับอื่นในชุมชนได้อย่างเป็นปกติสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเปาะเส้ง จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาวัณโรค ปี 2564 ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการควบคุมป้องกันวัณโรค อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง 3.เพื่อลดการติดต่อของโรคระหว่างผู้ป่วยกับผู้สัมผัสร่วมบ้าน 4.เพื่อลดอัตราป่วยของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้นำชุมชน/ผู้นำศาสนา อสม. จำนวน 60 คน
  2. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สัมผัสร่วมบ้านของผู้ป่วยวัณโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชุมชนสามารถป้องกันการติดต่อของโรควัณโรคได้ 2.การค้นหากลุ่มเสี่ยงวัณโรคมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3.ลดการติดต่อของโรคระหว่างผู้ป่วยสัมผัสร่วมบ้าน 4.ลดอัตราป่วยของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการควบคุมป้องกันวัณโรค อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง 3.เพื่อลดการติดต่อของโรคระหว่างผู้ป่วยกับผู้สัมผัสร่วมบ้าน 4.เพื่อลดอัตราป่วยของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่
ตัวชี้วัด : 1.เพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการควบคุมป้องกันวัณโรค อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง 3.เพื่อลดการติดต่อของโรคระหว่างผู้ป่วยกับผู้สัมผัสร่วมบ้าน 4.เพื่อลดอัตราป่วยของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการควบคุมป้องกันวัณโรค อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 2.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง 3.เพื่อลดการติดต่อของโรคระหว่างผู้ป่วยกับผู้สัมผัสร่วมบ้าน 4.เพื่อลดอัตราป่วยของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้นำชุมชน/ผู้นำศาสนา อสม. จำนวน 60 คน (2) จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้สัมผัสร่วมบ้านของผู้ป่วยวัณโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันวัณโรค จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาฟีฟะห์ เจ๊ะมามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด