กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน


“ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก พื้นที่ท่าหิน ”

ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจารุพรรณ โปชู

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก พื้นที่ท่าหิน

ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60- L5240-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก พื้นที่ท่าหิน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก พื้นที่ท่าหิน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก พื้นที่ท่าหิน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60- L5240-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สำคัญซึ่งมีการแพร่ระบาดของโรคในทุกภาคของประเทศมีแนวโน้มช่วงระยะเวลาในการระบาดถี่ขึ้นและมีความรุนแรงมากขึ้น จากการระบาดของโรคปีเว้นสองปีปีเว้นปี ปัจจุบันมีการระบาดของโรคเป็นประจำทุกปี โดยพบผู้ป่วยได้ในทุกฤดูกาลโรคไข้เลือดออกจึงเป็นปัญหาระดับประเทศ ในแต่ละปีมีผู้ป่วยและตายเป็นจำนวนมากส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม รัฐบาลจึงได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงได้นำปัญหาโรคไข้เลือดออกมากำหนดเป็นนโยบายหลักในการดำเนินงาน โดยที่สถานบริการสุขภาพทุกแห่งจะต้องร่วมมือกับองค์กรชุมชนต่างๆดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ครอบคลุมทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหิน นั้นได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยเน้นให้ อสม. ร่วมกับผู้นำชุมชนดำเนินการอย่างต่อเนื่อง แต่ยังไม่ได้ผลเท่าที่ควรเพราะยังมีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลท่าหิน จากข้อมูลระบาดวิทยาจังหวัดสงขลาพบผู้ป่วยไข้เลือดออก 3,550 ราย มีอัตราป่วย252.50 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต8 ราย มีอัตราป่วยตายร้อยละ0.23 อันตำบลท่าหินปี2556มีผู้ป่วย 6 รายอัตราป่วย 230 ต่อแสนประชากร ปี 2557 ไม่มีผู้ป่วย ปี2558 ไม่มีผู้ป่วย ปี 2559 มีผู้ป่วยจำนวน 3 รายอัตราป่วย 115ต่อแสนประชากร เนื่องมาจากผู้นำชุมชนไม่ให้ความสำคัญและไม่เป็นตัวอย่างในการกำจัดลูกน้ำยุงลายอสม.มีการดำเนินงานไม่ต่อเนื่องสม่ำเสมอ นักเรียนมีการกำจัดลูกน้ำยุงลายเป็นช่วงๆขาดความสม่ำเสมอประชาชนขาดความร่วมมือในการควบคุมลูกน้ำยุงลายในบ้านเรือนตนเอง โดยไม่เห็นความจำเป็นต้องดำเนินการกำจัดลูกน้ำยุงลายเพราะเป็นบทบาทของอสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจึงจำเป็นต้องหาวิธีการใหม่ๆเพื่อสร้างจิตสำนึกในการป้องกันและควบคุมลูกน้ำยุงลายโดยสมาชิกในบ้านของตนเองอย่างจริงจัง เพื่อการสร้างจิตสำนึกในการป้องกันและควบคุมลูกน้ำยุงลายโดยสมาชิกในบ้านเรือนตนเองอย่างจริงจังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหินจึงได้จัดทำโครงการบ้านฉันปลอดลูกน้ำยุงลายตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระจังหวัดสงขลาปลอดไข้เลือดออกขึ้น โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมและมาตรการชุมชน โดยสร้างบทบาทการเป็นผู้นำชุมชน โรงเรียนและอสม.เพื่อเป็นตัวอย่างในการสร้างจิตสำนึกและความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออกแประชาชนทำให้ตำบลท่าหินปลอดไข้เลือดออกอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนร่วมมือในการกำจัดลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง
  3. 3.เพื่อลดอัตรป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับค่าmedainย้อนหลัง 5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนมีการตื่นตัวและตระหนักถึงอันตรายของโรคไข้เลือดออก และร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ โดยเกิดความร่วมมือระหว่าง บ้าน วัด โรงเรียนและชุมชน ทำให้ค่าดัชนีความชุกชุมลูกน้ำยุงลาย ( HI, CI ) ลดลงส่งผลให้ลดอัตราป่วยของโรคลดลงจนทำให้เกิดหมู่บ้านปลอดไข้เลือดออกและตำบลปลอดไข้เลือดออก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการ ป้องกันโรคไข้เลือดออกรพ.สต.ท่าหิน    ปี 2560 1. ผลการดำเนินงาน 1.ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2.ร้อยละ 80ของหลังคาเรือนให้ร่วมมือในการกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง 3. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกปี 2560 = 40.65 ลดลงมากกว่าร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับค่าmedainย้อนหลัง 5 ปี
    4.ค่า HI = 2.60 ,  CI = 0 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด

    1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด • บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    2. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ......................2,0000............ บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ....................  2,0000............ บาท  คิดเป็นร้อยละ ... 100.... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ........................-......................... บาท  คิดเป็นร้อยละ .....-........
    3. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน • ไม่มี

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก

     

    2 2.เพื่อให้ประชาชนร่วมมือในการกำจัดลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของหลังคาเรือนให้ความร่วมมือในการกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง

     

    3 3.เพื่อลดอัตรป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับค่าmedainย้อนหลัง 5 ปี
    ตัวชี้วัด : 1.อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับค่า median ย้อนหลัง 5 ปี 2.ค่า HI < 10,CI = 0

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก (2) 2.เพื่อให้ประชาชนร่วมมือในการกำจัดลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง (3) 3.เพื่อลดอัตรป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับค่าmedainย้อนหลัง 5 ปี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันโรคไข้เลือดออก พื้นที่ท่าหิน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60- L5240-1-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจารุพรรณ โปชู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด