กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน


“ โครงการคัดกรองความดันเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนพรวน ”

ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวันวิสาข์ เทพเดชา

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองความดันเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนพรวน

ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60- L5240-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองความดันเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนพรวน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองความดันเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนพรวน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองความดันเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนพรวน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60- L5240-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะความดันโลหิตสูง และเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังพบได้บ่อยและก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ตามมา เช่นโรคหัวใจและหลอดเลือดส่งผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจตลอดจนครอบครัวสังคมและเศรษฐกิจ จากกระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพ ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง เช่นการบริโภค การออกกำลังกาย ความเครียดการดื่มสุรา สูบบุหรี่ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น จังหวัดสงขลาพบว่ามีจำนวนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในปี 2557 เท่ากับ 45,669 และผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในปี 2558 เท่ากับ 50,443 ราย เพิ่มขึ้น 4,764 รายจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เท่ากับ 110,517 รายและในปี 2558 เท่ากับ 119,813 ราย เพิ่มขึ้น 9,296 ราย และจากการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. ด้านอาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ในกลุ่มเสี่ยง พบว่ามีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องค่อนข้างสูงในเรื่องการรับประทานผักไม่หลากหลายชนิดใน 1 วันการออกกำลังกายที่ไม่เหมาะสมกับเพศ วัย และอายุ ตลอดจนความเครียดที่สะสม จากการใช้ชีวิตประจำวันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งล้วนแต่ทำให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพโดยรวม จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวนปี 2558 พบว่าผู้ป่วยเบาหวาน 80 ราย ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 152 รายในปี2559กลุ่มประชากรเป้าหมายจำนวน860ราย ได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง และตรวจคัดกรองเบาหวานโดยวาจา จำนวน860 ราย พบกลุ่มเสี่ยงจำนวน50 รายในปี 2559ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานและรับยาจำนวน 80รายและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและรับยาจำนวน 158ราย ซึ่งอยู่ในอัตราป่วยค่อนข้างสูง ขึ้นเรื่อยๆ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน ร่วมกับอสม.แกนนำชุมชนได้จัดตั้งคลินิกDPACซึ่งมีผู้เข้ารับบริการโดยสมัครใจจำนวน 45 ราย ทำให้เป็นศูนย์กลางในการรวมกลุ่มของผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงกลุ่มปกติที่สนใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและการดำเนินงานเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุตั้งแต่ 35ปีขึ้นไป อย่างน้อยปีล่ะ1ครั้งต่อคน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงต่อโรคกลุ่ม Metabolic เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และโรคอ้วนลงพุง
  2. 2. เพื่อลดอัตราการป่วยในกลุ่มโรคความดัน/เบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและโรคอ้วนลงพุง
  3. 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคความดัน/เบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและโรคอ้วน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 7,8,9 ตำบลท่าหิน ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 95 และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50
    2. กลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงไม่เกินร้อยละ 5
    3. กลุ่มป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนร้อยละ 5

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
      2.1 การบรรลุวัตถุประสงค์ บรรลุตามวัตถุประสงค์
      2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม จำนวน  860 คน
    2. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ  23,000  บาท (สองหมื่นสามพันบาทถ้วน) งบประมาณที่เบิกจ่ายจริง 23,000 บาท  คิดเป็นร้อยละ 100งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุน .......-....... บาท คิดเป็นร้อยละ  ....-...
      4.ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
      มี   
      ปัญหา/อุปสรรค  .การโอนเงิน สปสช.  ล่าช้ามากทำให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความยากลำบากในการเบิกจ่ายเงิน ในขณะกิจกรรมบางกิจกรรมจะต้องทำแบบต่อเนื่อง ซึ่งไม่ทันกับการรายงานและการติดตามผู้ป่วย               แนวทางแก้ไข ควรมีการเบิกจ่ายงบประมาณให้เร็วและทันกับการเบิกจ่ายงบ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุตั้งแต่ 35ปีขึ้นไป อย่างน้อยปีล่ะ1ครั้งต่อคน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงต่อโรคกลุ่ม Metabolic เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และโรคอ้วนลงพุง
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อลดอัตราการป่วยในกลุ่มโรคความดัน/เบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและโรคอ้วนลงพุง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคความดัน/เบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและโรคอ้วน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุตั้งแต่ 35ปีขึ้นไป อย่างน้อยปีล่ะ1ครั้งต่อคน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงต่อโรคกลุ่ม Metabolic เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง และโรคอ้วนลงพุง (2) 2. เพื่อลดอัตราการป่วยในกลุ่มโรคความดัน/เบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและโรคอ้วนลงพุง (3) 3. เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วยโรคความดัน/เบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและโรคอ้วน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรองความดันเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนพรวน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60- L5240-1-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวันวิสาข์ เทพเดชา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด