กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน


“ โครงการสร้างกระแสสังคม"ผู้ดูแลเด็กเล็กรุ่นใหม่ ใส่ใจความสะอาดของอาหารป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็ก 0-5 ปี ตำบลท่าหิน" ”

ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจารุพรรณ โปชู

ชื่อโครงการ โครงการสร้างกระแสสังคม"ผู้ดูแลเด็กเล็กรุ่นใหม่ ใส่ใจความสะอาดของอาหารป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็ก 0-5 ปี ตำบลท่าหิน"

ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60- L5240-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างกระแสสังคม"ผู้ดูแลเด็กเล็กรุ่นใหม่ ใส่ใจความสะอาดของอาหารป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็ก 0-5 ปี ตำบลท่าหิน" จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างกระแสสังคม"ผู้ดูแลเด็กเล็กรุ่นใหม่ ใส่ใจความสะอาดของอาหารป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็ก 0-5 ปี ตำบลท่าหิน"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างกระแสสังคม"ผู้ดูแลเด็กเล็กรุ่นใหม่ ใส่ใจความสะอาดของอาหารป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็ก 0-5 ปี ตำบลท่าหิน" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60- L5240-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคอุจจาระร่วงเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย มีการแพร่ระบาดอย่างมากไปทั่วทุกหมู่บ้านในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคอุจาระร่วงเฉียบพลันจำนวนมาก ทำให้มีการสูญเสียงบประมาณที่ใช้ในการรักษาอย่างมากมายทั้ง ๆ ที่โรคนี้สามารถป้องกันและควบคุมได้ไม่ยากนัก การป้องกันเบื้องต้นคือ การปรับปรุงและพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรคการปรับพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกสุขลักษณะ และยังมีปัจจัยอีกหลายอย่าง ที่เป็นต้นเหตุของการเกิดโรคเช่น การรับประทานอาหาร อาหาร น้ำที่ ปนเปื้อน โรค สารเคมีดังนั้นการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมป้องกันโรคอุจจาระร่วง จึงต้องอาศัย ความรู้และเจตคติ ที่ดี ในการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคที่ถูกต้องจนเป็นสุขนิสัยล้างมือทุกครั้งก่อนรับประทานอาหาร และหลังการใช้ส้วม ถ่ายอุจจาระในส้วม รับประทานอาหารปรุงสุกใหม่ล้างผักสะอาดก่อนรับประทานอาหาร ฯซึ่ง อาหารและน้ำ เป็นปัจจัย สาเหตุ ที่สำคัญ และอาหารจะสะอาดหรือไม่ ขึ้นอยู่กับ วัตถุดิบที่นำมาปรุงงประกอบ ไม่สด สะอาด มีเชื้อโรคและสารเคมีปนเปื้อนสถานที่ปรุงประกอบอาหาร เช่นร้านอาหาร แผงลอยตลาด แผงขายอาหารสด ร้านขายของชำ โรงครัว ครัวเรือนตลอดจนผู้ปรุงประกอบอาหาร นอกจากนี้ก็ยังมีสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น แหล่งน้ำเสีย และแหล่งทิ้งขยะมูลฝอย เป็นต้นสิ่งเหล่านี้เป็นสาเหตุที่ทำให้อาหารไม่สะอาดซึ่งเป็นต้นเหตุของโรคอุจจาระร่วง จากรายงานทางระบาดวิทยา ของอำเภอสทิงพระ ปี พ.ศ.2557 พบว่ามีผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วง 32 รายคิดเป็นอัตราป่วย 1230ต่อแสนประชากร, ปี พ.ศ. 2558 พบผู้ป่วย 38 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 1461.54ต่อแสนประชากรและจากรายงานโรค ของ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอสทิงพระ ตั้งแต่วันที่1 มกราคม 2559 ถึงวันที่30 พฤศจิกายน2559 พบ ผู้ป่วยโรคDiarrhoeaจำนวนทั้งสิ้น 19 รายคิดเป็นอัตราป่วย 730.76ต่อประชากรแสนคน โดยพบมากในกลุ่มอายุ0 - 4ปีมีผู้ป่วย5 รายอัตราป่วย192ต่อประชากรแสนคน ซึ่งสาเหตุเกิดจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูและสุขาภิบาลอาหารในครัวเรือนที่ไม่ถูกต้อง การเลี้ยงดูและสุขาภิบาลอาหารในครัวเรือนที่ไม่ถูกต้องนั้นจะต้องให้พี่เลี้ยงเด็กมีความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรค ปัจจัยสาเหตุการเกิดโรค เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฏิบัติและปฏิบัติสุขนิสัยที่ถูกต้องจากเหตุผลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหินจึงได้จัดทำ"ผู้ดูแลเด็กเล็กรุ่นใหม่ ใสใจความสะอาดของอาหาร ป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็ก 0-5 ปี ตำบลท่าหินอำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2560 ขึ้น เพื่อป้องกันการเกิดโรคแก่ประชากรในพื้นที่ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงลดลงไม่เกินเกณฑ์มาตรฐานในโอกาสต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก 0 - 5ปีในพื้นที่หมู่ที่ 1 - 6 ตำบลท่าหิน มีความรู้เรื่องโรคอุจจาระร่วงสุขาภิบาลอาหารและหลักการรักษาความสะอาดป้องกันสิ่งปนเปื้อนในอาหาร นม และภาชนะบรรจุ
  2. 2.เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก 0 - 5ปีในพื้นที่หมู่ที่ 1 - 6 ตำบลท่าหิน สามารถจัดเตรียม/ทำอาหารได้ถูกหลักสุขาภิบาลอาหารฯ
  3. 3.เพื่อลดอัตตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงในกลุ่มเด็ก 0-4 ปี เทียบกับค่าMEDAIN 5 ปีย้อนหลัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ประชาชนหมู่ที่ 1 – 6 ตำบลท่าหิน มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนัก เห็นความสำคัญให้ความร่วมมือ ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงลดลงทุกปีอย่างต่อเนื่อง จนส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงของประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตรับผิดชอบ < 1,000 ต่อแสนประชากรอัตราป่วยในกลุ่มเด็ก 0-5 ปี น้อยกว่า 6,000 ต่อแสนประชากรและไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคอุจจาระร่วง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการ สร้างกระแสสังคม "ผู้ดูแลเด็กเล็กรุ่นใหม่  ใส่ใจความสะอาดของอาหาร ป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็ก 0-5 ปี ตำบลท่าหิน  อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี2560
    1. ผลการดำเนินงาน 1.ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลเด็ก 0 - 5ปีมีความรู้เรื่องเรื่องโรคอุจจาระร่วง  สุขาภิบาลอาหาร  และหลักการรักษาความสะอาดป้องกันสิ่งปนเปื้อนในอาหาร นม และภาชนะบรรจุ
    2. .ผู้ดูแลเด็กปฏิบัติตนได้ถูกต้องในการเตรียมอาหาร ตามหลักสุขาภิบาลอาหารและการป้องกันโรคอุจจาระร่วง ร้อยละ 90 3. โรคอุจจาระร่วงในกลุ่มเด็ก 0-5 ปี ลดลงร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับค่าMEDAIN 5 ปีย้อนหลัง ส่งผลให้ประชาชนหมู่ที่ 1 – 6 ตำบลท่าหิน มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนัก เห็นความสำคัญให้ความร่วมมือ ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงลดลงทุกปีอย่างต่อเนื่อง  จนส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงของประชาชนทุกกลุ่มอายุในเขตรับผิดชอบ < 1,000 ต่อแสนประชากร  อัตราป่วยในกลุ่มเด็ก 0-5 ปี น้อยกว่า 6,000 ต่อแสนประชากรและไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคอุจจาระร่วง 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด • บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ...................... 5,180............ บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง .......................5,180............ บาท  คิดเป็นร้อยละ ...100.... งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ........................-................... บาท  คิดเป็นร้อยละ ......-...... 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน • ไม่มี

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก 0 - 5ปีในพื้นที่หมู่ที่ 1 - 6 ตำบลท่าหิน มีความรู้เรื่องโรคอุจจาระร่วงสุขาภิบาลอาหารและหลักการรักษาความสะอาดป้องกันสิ่งปนเปื้อนในอาหาร นม และภาชนะบรรจุ
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี มีความรู้เรื่องโรคอุจจาระร่วง สุขาภิบาลอาหาร และหลักการรักษาความสะอาดป้องกันสิ่งปนเปื้อนในอาหาร นม และภาชนะบรรจุ

     

    2 2.เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก 0 - 5ปีในพื้นที่หมู่ที่ 1 - 6 ตำบลท่าหิน สามารถจัดเตรียม/ทำอาหารได้ถูกหลักสุขาภิบาลอาหารฯ
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้ดูแลเด็กปฏิบัตตนได้ถูกต้องในการเตรียมอาหาร ตามหลักสุขาภิบาลอาหารและป้องกันโรคอุจจาระร่วง ร้อยละ 90

     

    3 3.เพื่อลดอัตตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงในกลุ่มเด็ก 0-4 ปี เทียบกับค่าMEDAIN 5 ปีย้อนหลัง
    ตัวชี้วัด : 1.โรคอุจจาระร่วงในกลุ่มเด็ก 0-5 ปี ลดลงร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับค่าmedain 5 ปีย้อนหลัง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก 0 - 5ปีในพื้นที่หมู่ที่ 1 - 6 ตำบลท่าหิน มีความรู้เรื่องโรคอุจจาระร่วงสุขาภิบาลอาหารและหลักการรักษาความสะอาดป้องกันสิ่งปนเปื้อนในอาหาร นม และภาชนะบรรจุ (2) 2.เพื่อให้ผู้ดูแลเด็ก 0 - 5ปีในพื้นที่หมู่ที่ 1 - 6 ตำบลท่าหิน สามารถจัดเตรียม/ทำอาหารได้ถูกหลักสุขาภิบาลอาหารฯ (3) 3.เพื่อลดอัตตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงในกลุ่มเด็ก 0-4 ปี เทียบกับค่าMEDAIN 5 ปีย้อนหลัง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างกระแสสังคม"ผู้ดูแลเด็กเล็กรุ่นใหม่ ใส่ใจความสะอาดของอาหารป้องกันโรคอุจจาระร่วงในเด็ก 0-5 ปี ตำบลท่าหิน" จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60- L5240-1-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจารุพรรณ โปชู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด