กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ใจแลกใจฉีดวัคซีน (ฮาลาล ) ครบชุดตามเกณฑ์ ในเด็กอายุ 0– 5 ปี หมู่ที่ 3 5 6 7 ตำบลช้างเผือก ปี 2564 ”
ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรไซดะห์ สามะอาลี




ชื่อโครงการ ใจแลกใจฉีดวัคซีน (ฮาลาล ) ครบชุดตามเกณฑ์ ในเด็กอายุ 0– 5 ปี หมู่ที่ 3 5 6 7 ตำบลช้างเผือก ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2475-1-12 เลขที่ข้อตกลง 30/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 15 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"ใจแลกใจฉีดวัคซีน (ฮาลาล ) ครบชุดตามเกณฑ์ ในเด็กอายุ 0– 5 ปี หมู่ที่ 3 5 6 7 ตำบลช้างเผือก ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ใจแลกใจฉีดวัคซีน (ฮาลาล ) ครบชุดตามเกณฑ์ ในเด็กอายุ 0– 5 ปี หมู่ที่ 3 5 6 7 ตำบลช้างเผือก ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " ใจแลกใจฉีดวัคซีน (ฮาลาล ) ครบชุดตามเกณฑ์ ในเด็กอายุ 0– 5 ปี หมู่ที่ 3 5 6 7 ตำบลช้างเผือก ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2475-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เป็นกลวิธีในการป้องกันควบคุมโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่มีประสิทธิภาพและคุ้มค่ามากที่สุด ประเทศไทยได้ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนางานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตั้งแต่ ปี 2520 เป็นต้นมา โดยผสมผสานการดำเนินงานเข้ากับงานบริการสาธารณสุขตามปกติ และพัฒนาเร่งรัด การดำเนินงานด้วยวิธีการเพิ่มกลุ่มเป้าหมายและชนิดของวัคซีนให้มากขึ้น มีการปรับปรุงระบบการกระจายวัคซีนและบริหารจัดการแก่ผู้มารับวัคซีน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนที่มีคุณภาพดีและครอบคลุมอย่างทั่วถึง มีกลุ่มเป้าหมายที่ให้บริการ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน กลุ่มเด็กวัยเรียน และหญิงตั้งครรภ์ ผลการดำเนินงานที่ผ่านมาประเทศไทยประสบความสำเร็จในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเป็นอย่างมาก กล่าวคือ การครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานครบชุดครบถ้วนในเด็กต่ำกว่า 1 ปี และในภาพรวมของประเทศอยู่ในระดับเกินกว่าร้อยละ 90 ส่งผลกระทบให้สามารถลดอัตราป่วย อัตราตาย ในโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยักในเด็กแรกเกิด และหัดลงได้มากกว่าร้อยละ 90 เมื่อเปรียบเทียบกับระยะก่อนดำเนินการ ที่สำคัญไม่พบผู้ป่วยโปลิโอมาเป็นเวลากว่า 15 ปี ด้วยสภาพการณ์ปัจจุบันภายหลังจากที่มีการปฏิรูประบบสาธารณสุข ทำให้มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างขององค์กรและหน่วยงานทั้งในส่วนกลางและภูมิภาคมีการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคหลายด้านซึ่งการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ดังกล่าวล้วนส่งผลกระทบต่อคุณภาพการให้บริการวัคซีนเป็นอย่างมาก
จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาอัตราความครอบคลุมวัคซีนขั้นพื้นฐานพบว่า ในเขตตำบลช้างเผือก เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนไม่ครอบคลุม ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ ร้อยละ 85.38 (เกณฑ์ร้อยละ 90) ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ค่อนข้างต่ำ ไม่ผ่านตามมาตรฐานตัวชี้วัดที่กำหนด จึงจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ทุกคน เพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุดังกล่าวต่อไปอนาคต ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลช้างเผือกจึงอาศัยอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลพ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ซึ่งกำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ มาตรา 67 (3) การป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ รวมทั้งพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบัน มาตรา 16 กำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเองดังนี้ (10) การสังคมสงเคราะห์และพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส และ (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล และแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2543 กำหนดให้ภารกิจด้านการสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส การจัดสวัสดิการสังคม เป็นภารกิจที่ต้องถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และอาจเลือกทำตามอำนาจหน้าที่ ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลที่ให้ความสำคัญด้านสังคมและคุณภาพชีวิต ซึ่งเป็นหลักประกันด้านพื้นฐานของการบริการสาธารณะของรัฐ และมีภารกิจเกี่ยวกับการให้บริการสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ จึงจัดทำโครงการรณรงค์ให้บริการฉีดวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ ในเด็ก 0 – 5 ปี ตำบลช้างเผือกขึ้น เพื่อรณรงค์การรับบริการฉีดวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ในเด็กอายุ 0 – 5 ปี และเพื่อให้การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคสามารถคงรักษาระดับมาตรฐานการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดทุกคน
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้และตระหนักในการรับวัคซีน เด็กอายุ 0-5 ปี
  3. เพื่อยับยั้ง และป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี
  2. ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ไม่มารับวัคซีนตามที่นัด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 44
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 56
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญการป้องกันโรคด้วยวัคซีนและเข้าใจ ถึงความจำเป็นที่บุตรต้องรับวัคซีนตามรัฐกำหนด และเด็กอายุ 0 -5 ปี (ตามกลุ่มเป้าหมาย) ในพื้นที่ทุกคนได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์และป้องกันการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดทุกคน
ตัวชี้วัด : อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน
90.00 0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้และตระหนักในการรับวัคซีน เด็กอายุ 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้และตระหนักในการรับวัคซีของบุตร
100.00 0.00

 

3 เพื่อยับยั้ง และป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนลดลง
100.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 44
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 56
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดทุกคน (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้และตระหนักในการรับวัคซีน  เด็กอายุ 0-5 ปี (3) เพื่อยับยั้ง และป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี (2) ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ไม่มารับวัคซีนตามที่นัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ใจแลกใจฉีดวัคซีน (ฮาลาล ) ครบชุดตามเกณฑ์ ในเด็กอายุ 0– 5 ปี หมู่ที่ 3 5 6 7 ตำบลช้างเผือก ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2475-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรไซดะห์ สามะอาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด