กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย


“ โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน ”

ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายประเสริฐศักดิ์ ลักติธรรม

ชื่อโครงการ โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน

ที่อยู่ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1475-02-41 เลขที่ข้อตกลง 39/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 เมษายน 2564 ถึง 10 เมษายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1475-02-41 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 เมษายน 2564 - 10 เมษายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,175.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาข้าวเสีย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจัยสี่เป็นสิ่งที่สำคัญต่อการดำรงชีพของมนุษย์ ซึ่งหนึ่งในนั้นคืออาหาร การบริโภคอาหารทำให้ร่างกายเจริญเติบโตและดำรงชีวิตอยู่โดยปกติสุข เราควรคำนึงถึงความสะอาดของอาหาร และความปลอดภัยจากการบริโภค ปัจจุบันจำนวนของประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การผลิตอาหารจำเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีต่างๆ ในการผลิตอาหารเพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค ซึ่งการดำเนินงานผลิตอาหารนั้นจำเป็นต้องอาศัยหลักการของการสุขาภิบาลอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาด ปลอดภัย จะได้ไม่เกิดปัญหาโรคภัยไข้เจ็บอันเนื่องมาจากการบริโภคอาหาร การได้รับอาหารที่มีคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย เป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตของมนุษย์ จึงต้องมีการควบคุม กำกับ ดูแลความปลอดภัยของอาหาร อาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ทุกคนหากผู้บริโภคปรุงอาหารด้วยตนเองก็จะมั่นใจได้ว่าอาหารมีความปลอดภัยในระดับหนึ่งแต่ส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารนอกบ้านมารับประทาน ทำให้ไม่สามารถมั่นใจได้ว่าอาหารมีความปลอดภัยเพียงพออีกทั้งยังมีพ่อค้าแม่ค้าบางรายนำวัตถุดิบที่มีคุณภาพต่ำมาประกอบอาหาร หรือมีการเติมสารห้ามใช้ในอาหารบางอย่างลงไปเช่น บอแรกซ์ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ เป็นต้น รวมทั้งมีการปรุงอาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ ดังนั้นหากผู้บริโภคขาดความรู้ ความเข้าใจ เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ทำให้ไม่สามารถเลือกซื้อ หรือเก็บรักษาอาหารได้ถูกต้อง และไม่สามารถดูแลปกป้องตนเองจากพิษภัยของอาหารที่ไม่ปลอดภัยได้ โรงเรียนวัดควนสีนวลได้ตระหนักถึงความสำคัญของเด็กและเยาวชนที่อยู่วัยเรียน จึงจัดทำโครงการ อย.น้อยในโรงเรียนขึ้น โดยตระหนักว่าเด็กเป็นกำลังที่สำคัญของประเทศชาติ หากปลูกฝังให้มีพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมแล้วจะช่วยลดปัญหาทางด้านสาธารณสุขในอนาคต ซึ่งเด็กเป็นผู้ที่กระตือรือร้น และเป็นผู้ที่มีศักยภาพในตัวเอง สามารถชี้นำเพื่อนและผู้ปกครอง ให้สนับสนุนการดำเนินงานที่ดีอย่างได้ผล เพื่อนำศักยภาพของนักเรียนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อจัดตั้งนักเรียนแกนนำ ชมรม อย.น้อยโรงเรียน2.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และทัศนคติที่ดีต่อการบริโภคที่ส่งผลดีต่อสุขภาพ3.เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้ในการบริโภคสู่นักเรียนและชุมชน 4.เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.นักเรียน ครูและบุคลากร โรงเรียนวัดควนสีนวล สามารถเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ถูกต้อง 2.นักเรียน ครูและบุคลากร โรงเรียนวัดควนสีนวล มีความรู้เรื่องการเลือกใช้ฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ถูกต้อง 3.นักเรียน และครูบุคลากรโรงเรียนวัดควนสีนวล มีความรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร และเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อจัดตั้งนักเรียนแกนนำ ชมรม อย.น้อยโรงเรียน2.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และทัศนคติที่ดีต่อการบริโภคที่ส่งผลดีต่อสุขภาพ3.เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้ในการบริโภคสู่นักเรียนและชุมชน 4.เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย
    ตัวชี้วัด :
    40.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อจัดตั้งนักเรียนแกนนำ ชมรม อย.น้อยโรงเรียน2.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และทัศนคติที่ดีต่อการบริโภคที่ส่งผลดีต่อสุขภาพ3.เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ความรู้ในการบริโภคสู่นักเรียนและชุมชน 4.เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ อย.น้อยในโรงเรียน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 64-L1475-02-41

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประเสริฐศักดิ์ ลักติธรรม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด