โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข ”
ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางพรทิพย์ พละสินธุ์ ประธานฯ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข
ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-l7255-02-04 เลขที่ข้อตกลง 6/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-l7255-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,085.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
นสถานการณ์ปัจจุบันภายใต้ยุคโควิด 2019 ที่เรากำลังเผชิญอยู่ ทำให้ประชาชนได้รับผลกระทบในการดำรงชีวิตมากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเศรษฐกิจ ความเป็นอยู่ในครอบครัว สังคม ชุมชน ซึ่งเป็นปัญหาที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของประชาชน ก่อให้เกิดเป็นปัญหาโรคเครียด ซึมเศร้า ท้อแท้ การทำร้ายตัวเองและผู้อื่น ซึ่งหากไม่ได้รับการดูแลก็จะส่งผลกระทบเป็นวงกว้างจากครอบครัวสู่ชุมชนและสังคมต่อไป ด้วยเหตุนี้สมาคมพุทธศาสตร์คลองแห ได้เล็งเห็นถึงการป้องกัน สร้างสรรค์สังคมให้อยู่ได้กับสังคมที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน จึงได้จัดทำ “โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ตามสังคมมีสุข”ขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้ปรับตัวให้เข้ากับสภาวะที่เป็นอยู่ รู้เท่าทัน รู้วิธีแก้ปัญหา พร้อมที่จะตั้งรับกับปัญหา พร้อมที่จะปกป้องคนใกล้ตัวให้ผ่านพ้นวิกฤติแห่งความเครียดไปได้ โดยการนำหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น อีกทั้งได้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในสังคมปัจจุบันให้มีความสุขต่อไปได้“อยู่กับโลกอย่างที่โลกเป็นให้มีความสุข ไม่อยู่อย่างกำหนดโลก”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
- สมาชิกในสมาคมพุทธสามารถแก้ปัญหาปัญหาโรคซึมเศร้า เครียด ได้
- สมาชิกสมาคมพุทธมีีความรู้ในการแก้แก้ปัญหาและใช้ชีวิตในสังคมได้
- เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจและประเมินสุขภาพ
- ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ
- อบรมเชิงปฏิบัติการ
- ถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรม
- สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
- ประชุมวางแผนทำงาน
- ประเมินและตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นก่อนและหลังการดำเนินโครงการ
- สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ไม่ลืม ไม่เศร้าครั้งที่ 1
- กิจกรรมสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ลดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ครั้งที่ 2
- สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ด้วยสมุนไพรไทย ครั้งที่ 3
- ถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแบบพึ่งตนเองในผู้สูงอายุ
- ติดตามประเมินผลโครงการ
- สรุปโครงการฉบับสมบูรณ์ส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
25
กลุ่มผู้สูงอายุ
10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
5
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว
2.ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตนเองได้
3 ผู้เข้ารับการอบรมมีความพร้อมในการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมวางแผนทำงาน
วันที่ 2 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการประชุมคณะทำงาน จำนวน 25 คน
ในวันที่ 2 เมษายน 2565 เวลา 13.30 น. ณ วัดคลองแห
- ประธานแจ้งให้ทราบเกี่ยวกับวัตุถประสงค์ของโครงการ
- กิจกรรมที่จะดำเนินการในโครงการ
- กำหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรม
- มอบหมายงานในแก่คณะทำงาน เช่น ประสานวิทยากร สถานที่ และ เอกสารเกี่ยวกับการอบรม
2.กำหนดช่วงเวลาในการจัดกิจกรรม และวางแผนกิจกรรมในแต่ละประเภท
- มอบหมายการดำเนินงานให้แต่ละฝ่าย
ปิดการประชุมเวลา 16.00 น.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การดำเนินการจัดการประชุมคณะทำงาน ในวันที่ 2 เมษายน 2565 เวลา 13.30 น. มีผู้เข้าประชุม จำนวน 25 ท่าน ประกอบด้วย ประธาน รองประธาน เลขาา เหรัญญิก ที่ปรึกษา และคณะกรรมการ
1.ประธานแจ้งวัตถุประสงค์โครงการ และงบประมาณ และกิจกรรมที่จะดำเนินการ
1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการปฏิบัติงาน
1.2 ประเมินสุขภาพเบื้องต้นของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
1.3อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง สุขภาพจิตดี สุขภาพดี ไม่ลืม ไม่เศร้า (ครั้งที่1 )
1.3อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สุขภาพกายดี ลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ครั้งที่ 2 )
1.4สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ด้วยสมุนไพร (ครั้งที่ 3 )
1.5 ถอดบทเรียนโครงการ พร้อมมอบประกาศนียบัตร
1.6 ติดตามและประเมินผลโครงการ
ซึ่งในที่ประชุมได้แบ่ง คณะทำงาน
- ฝ่ายการเงิน
- ฝ่ายประชาสัมพันธ์
- ฝ่ายเตรียมเอกสาร และสถานที่
- ประสานงานบุคลากร และอำนวยความสะดวก
ปิดประชุมเวลา 16.30 น.
25
0
2. สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ไม่ลืม ไม่เศร้าครั้งที่ 1
วันที่ 9 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้ การให้คำปรึกษา ลดความเครียด เพื่อให้มีทักษะการดูแลและช่วยเหลือตนเองและครอบครัวที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังและภาวะซึมเศร้า
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
111
60
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
35.42
70.00
2
สมาชิกในสมาคมพุทธสามารถแก้ปัญหาปัญหาโรคซึมเศร้า เครียด ได้
ตัวชี้วัด : สมาชิกสมาคมพุทธมีปัญหาด้านโรคซึมเศร้า เครียด ลดลง
22.50
20.00
3
สมาชิกสมาคมพุทธมีีความรู้ในการแก้แก้ปัญหาและใช้ชีวิตในสังคมได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละสมาชิกสมาคมพุทธมีีความรู้ในการแก้แก้ปัญหาและใช้ชีวิตในสังคมได้เพิ่มขึ้น
38.56
65.00
4
เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
45.22
75.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
25
กลุ่มผู้สูงอายุ
10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
5
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (2) สมาชิกในสมาคมพุทธสามารถแก้ปัญหาปัญหาโรคซึมเศร้า เครียด ได้ (3) สมาชิกสมาคมพุทธมีีความรู้ในการแก้แก้ปัญหาและใช้ชีวิตในสังคมได้ (4) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจและประเมินสุขภาพ (2) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ (3) อบรมเชิงปฏิบัติการ (4) ถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (5) ติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรม (6) สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ (7) ประชุมวางแผนทำงาน (8) ประเมินและตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นก่อนและหลังการดำเนินโครงการ (9) สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ไม่ลืม ไม่เศร้าครั้งที่ 1 (10) กิจกรรมสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ลดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ครั้งที่ 2 (11) สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ด้วยสมุนไพรไทย ครั้งที่ 3 (12) ถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแบบพึ่งตนเองในผู้สูงอายุ (13) ติดตามประเมินผลโครงการ (14) สรุปโครงการฉบับสมบูรณ์ส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข
รหัสโครงการ 64-l7255-02-04 รหัสสัญญา 6/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
1.มีการให้ความรู้ที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ และผู้ใกล้ชิด
2.มีการสาธิตการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ
1.อ้างอิงจากการจัดกิจกรรมในโครงการ
2.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้เข้าร่วมโครงการ
1.การจัดทำโครงการต่อเนื่องในพื้นที่อื่นๆ
2.การจัดทำโครงการแบบบูรณาการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
1.การใช้วัฒนธรรมของพื้นที่ (การทำจักสาน) เข้ามาประยุกต์เพื่อพัฒนาศักยภาพ และฟื้นฟูสุขภาพทางกาย และจิตใจ
2.การถ่ายทอดความรู้จากรุ่นสู่รุ่นได้อย่างแนบเนียน
อ้างอิงจากการดำเนินกิจกรรมในการดำเนินโครงการ
1.การนำวัฒนธรรมท้องถิ่นเข้ามาประยุกต์ใช้ในการออกกำลังกายต่อไป
2.จัดทำโครงการที่เพิ่มศักยภาพในด้านดังกล่าว
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
1.การจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ และผู้ดูแล
2.มีกระบวนการนำไปใช้ในครอบครัวได้อย่างลงตัว
กิจกรรมดังกล่าวผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
1.การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มเติมเรื่องการดูแลสุขภาพในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
1.การรวบรวมข้อมูลพื้นฐานจากชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.วางแผนประชุมคณะทำงาน และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการดำเนินโครงการ
3.ดำเนินโครงการ
4.ติดตามและประเมินผลโครงการ
5.ส่งรายงานการดำเนินโครงการ
การประเมินความสามารถของผู้เข้าร่วมโครงการ
1.การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มเติมเรื่องการดูแลสุขภาพในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา
2.พัฒนาผู้นำ แกนนำต่อไป เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
1.เกิดกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่
2.กลุ่มผู้ดูแลผู้สูงอายุ
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดำเนินโครงการ
การจัดทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องที่เกี่ยข้องกับการพัฒนาด้านสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
1.โรงเรียนผู้สูงอายุในพื้นที่
กลุ่มต่างๆที่ดำเนินงานด้านผู้สูงอายุ
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีกิจกรรมที่พัฒนาผู้สูงอายุในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
1.มีการจัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม
2.มีการจัดกิจกรรม และสาธิตเพื่อการดำเนินกิจกรรมอย่างถูกต้องและเหมาะสม
การประเมินผลจากการดำเนินกิจกรรม
การนำความรู้ท้องถิ่น วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เหมาะสมเข้ามาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพ อนามัยของผู้เข้าร่วมวโครงการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
1.มีการอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพที่ดีเริ่มที่การกิน และที่เหมาะสมกับวัย
2.อบรมการใช้พืช สมุนไพรท้องถิ่นที่ดีต่อสุขภาพ
การประเมินระหว่างการดำเนินกิจกรรม
การจัดกิจกรรมที่เหมาะสม และต่อเนื่อง
การใช้พืช ผัก สมุนไพรท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
1.การประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยประยุกต์วัฒนธรรมท้องถิ่น
2.การอบรมให้ความรู้ เรื่องการออกกำลังกายยืดเหยียดอย่างเหมาะสม
การประเมินผลการดำเนินโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในชีวติประจำวัน อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
1.มีการจัดกิจกรรมจักสาน เพื่อลดความเครียด
2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3.การนำความรู้ทางพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
การประเมินผู้เข้าร่วมกิจกรรมระหว่างจัดกิจกรรม
การจัดทำโครงการและพัฒนากิจกรรมที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
1.การใช้งานจักสาน เพื่อการพัฒนาสุขภาพกาย และสุขภาพใจ
2.การพืชผักสมุนไพรในการใช้บริโภค และรักษาสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การจัดทำโครงการอย่างต่อเนื่อง และพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
1.การอบรมการดูแลตัวเองของผู้สูงอายุ
2.การอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุุอย่างเหมาะสม และลดช่องว่างระหว่างครอบครัว
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การจัดทำโครงการอย่างต่อเนื่อง และพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
1.การใช้พืช สมุนไพรในการทำความสะอาดครัวเรือน อย่างเหมาะสม
2.แนะนำให้มีการลดใช้สารเคมีระหว่างการจัดกิจกรรมอบรม
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การลดใช้ผลิตภัณฑ์ด้านเคมีในการดำเนินชีวิตประจำวัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
1.มีการจัดกิจกรรมเพื่อลดช่องว่างในครอบครัวได้
2.การจัดสถานที่พักอาศัยอย่างเหมาะสมกับผู้สูงอายุ
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสมกับท้องถิ่น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
1.การทำจักสาน โดยการนำความรู้ท้องถิ่นมาประยุกต์การจัดกิจกรรม
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การจัดทำโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
1.การให้คำแนะนำการรับบริการทางการแพทย์ที่เหมาะแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และประชาสัมพันธ์แก่อสม.อย่างทั่วถึง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
1.มีกฎ ข้อบังคมของกลุ่มระหว่างการจัดกิจกรรม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและประสัมพันธ์อย่างทั่วถึง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
มีการเสนอแก่เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อพัฒนาและฟื้นฟูแก่ผู้สูงอายุในพื้นที่อย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและประสัมพันธ์อย่างทั่วถึง
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
1.การจัดตั้งกลุ่มผู้สูงอายุ และรวมกลุ่มกันในวันสำคัญทางศาสนา
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
มีกระบวนการเก็บข้อมูลพื้นฐาน และปัญหาของชุมชน และนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมอย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
มีการใช้วัสดุท้องถิ่นในการจัดกิจกรรม(จักสาน)
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
การจัดกิจกรรมในทุกวันสำคัญทางศาสนา และรวมกลุ่มกันเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ชีวิต และร่วมกันพัฒนา ประยุกต์วัฒนธรรมท้องถิ่นในการดำเนินชีวิตประจำวัน
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
การรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
การนำปัญหาในชุมชน และทุนของชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
การจัดอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
การให้ความรู้ในการร่วมการพัฒนาชุมชนอย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำเสนอการปรับใช้ชีวิตอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ทั้งความรู้ และสิ่งของอย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
มีกระบวนการนำปัญหาในพื้นที่ และแก้ไขได้อย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-l7255-02-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางพรทิพย์ พละสินธุ์ ประธานฯ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข ”
ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางพรทิพย์ พละสินธุ์ ประธานฯ
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-l7255-02-04 เลขที่ข้อตกลง 6/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-l7255-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,085.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
นสถานการณ์ปัจจุบันภายใต้ยุคโควิด 2019 ที่เรากำลังเผชิญอยู่ ทำให้ประชาชนได้รับผลกระทบในการดำรงชีวิตมากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเศรษฐกิจ ความเป็นอยู่ในครอบครัว สังคม ชุมชน ซึ่งเป็นปัญหาที่ส่งผลต่อสุขภาพจิตของประชาชน ก่อให้เกิดเป็นปัญหาโรคเครียด ซึมเศร้า ท้อแท้ การทำร้ายตัวเองและผู้อื่น ซึ่งหากไม่ได้รับการดูแลก็จะส่งผลกระทบเป็นวงกว้างจากครอบครัวสู่ชุมชนและสังคมต่อไป ด้วยเหตุนี้สมาคมพุทธศาสตร์คลองแห ได้เล็งเห็นถึงการป้องกัน สร้างสรรค์สังคมให้อยู่ได้กับสังคมที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน จึงได้จัดทำ “โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ตามสังคมมีสุข”ขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้ปรับตัวให้เข้ากับสภาวะที่เป็นอยู่ รู้เท่าทัน รู้วิธีแก้ปัญหา พร้อมที่จะตั้งรับกับปัญหา พร้อมที่จะปกป้องคนใกล้ตัวให้ผ่านพ้นวิกฤติแห่งความเครียดไปได้ โดยการนำหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น อีกทั้งได้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การอยู่ร่วมกันในสังคมปัจจุบันให้มีความสุขต่อไปได้“อยู่กับโลกอย่างที่โลกเป็นให้มีความสุข ไม่อยู่อย่างกำหนดโลก”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
- สมาชิกในสมาคมพุทธสามารถแก้ปัญหาปัญหาโรคซึมเศร้า เครียด ได้
- สมาชิกสมาคมพุทธมีีความรู้ในการแก้แก้ปัญหาและใช้ชีวิตในสังคมได้
- เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจและประเมินสุขภาพ
- ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ
- อบรมเชิงปฏิบัติการ
- ถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรม
- สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
- ประชุมวางแผนทำงาน
- ประเมินและตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นก่อนและหลังการดำเนินโครงการ
- สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ไม่ลืม ไม่เศร้าครั้งที่ 1
- กิจกรรมสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ลดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ครั้งที่ 2
- สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ด้วยสมุนไพรไทย ครั้งที่ 3
- ถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแบบพึ่งตนเองในผู้สูงอายุ
- ติดตามประเมินผลโครงการ
- สรุปโครงการฉบับสมบูรณ์ส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 25 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 10 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 10 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 5 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว 2.ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตนเองได้ 3 ผู้เข้ารับการอบรมมีความพร้อมในการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมวางแผนทำงาน |
||
วันที่ 2 เมษายน 2564กิจกรรมที่ทำดำเนินการประชุมคณะทำงาน จำนวน 25 คน ในวันที่ 2 เมษายน 2565 เวลา 13.30 น. ณ วัดคลองแห
- กิจกรรมที่จะดำเนินการในโครงการ - กำหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรม - มอบหมายงานในแก่คณะทำงาน เช่น ประสานวิทยากร สถานที่ และ เอกสารเกี่ยวกับการอบรม 2.กำหนดช่วงเวลาในการจัดกิจกรรม และวางแผนกิจกรรมในแต่ละประเภท
ปิดการประชุมเวลา 16.00 น. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการดำเนินการจัดการประชุมคณะทำงาน ในวันที่ 2 เมษายน 2565 เวลา 13.30 น. มีผู้เข้าประชุม จำนวน 25 ท่าน ประกอบด้วย ประธาน รองประธาน เลขาา เหรัญญิก ที่ปรึกษา และคณะกรรมการ 1.ประธานแจ้งวัตถุประสงค์โครงการ และงบประมาณ และกิจกรรมที่จะดำเนินการ 1.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการปฏิบัติงาน 1.2 ประเมินสุขภาพเบื้องต้นของผู้เข้าร่วมกิจกรรม 1.3อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง สุขภาพจิตดี สุขภาพดี ไม่ลืม ไม่เศร้า (ครั้งที่1 ) 1.3อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สุขภาพกายดี ลดการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ครั้งที่ 2 ) 1.4สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ด้วยสมุนไพร (ครั้งที่ 3 ) 1.5 ถอดบทเรียนโครงการ พร้อมมอบประกาศนียบัตร 1.6 ติดตามและประเมินผลโครงการ ซึ่งในที่ประชุมได้แบ่ง คณะทำงาน - ฝ่ายการเงิน - ฝ่ายประชาสัมพันธ์ - ฝ่ายเตรียมเอกสาร และสถานที่ - ประสานงานบุคลากร และอำนวยความสะดวก ปิดประชุมเวลา 16.30 น.
|
25 | 0 |
2. สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ไม่ลืม ไม่เศร้าครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 9 พฤษภาคม 2564กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้ การให้คำปรึกษา ลดความเครียด เพื่อให้มีทักษะการดูแลและช่วยเหลือตนเองและครอบครัวที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังและภาวะซึมเศร้า ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น111
|
60 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล ตัวชี้วัด : จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น |
35.42 | 70.00 |
|
|
2 | สมาชิกในสมาคมพุทธสามารถแก้ปัญหาปัญหาโรคซึมเศร้า เครียด ได้ ตัวชี้วัด : สมาชิกสมาคมพุทธมีปัญหาด้านโรคซึมเศร้า เครียด ลดลง |
22.50 | 20.00 |
|
|
3 | สมาชิกสมาคมพุทธมีีความรู้ในการแก้แก้ปัญหาและใช้ชีวิตในสังคมได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละสมาชิกสมาคมพุทธมีีความรู้ในการแก้แก้ปัญหาและใช้ชีวิตในสังคมได้เพิ่มขึ้น |
38.56 | 65.00 |
|
|
4 | เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น |
45.22 | 75.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 25 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 10 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 10 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 5 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (2) สมาชิกในสมาคมพุทธสามารถแก้ปัญหาปัญหาโรคซึมเศร้า เครียด ได้ (3) สมาชิกสมาคมพุทธมีีความรู้ในการแก้แก้ปัญหาและใช้ชีวิตในสังคมได้ (4) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจและประเมินสุขภาพ (2) ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ (3) อบรมเชิงปฏิบัติการ (4) ถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (5) ติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรม (6) สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ (7) ประชุมวางแผนทำงาน (8) ประเมินและตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นก่อนและหลังการดำเนินโครงการ (9) สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ไม่ลืม ไม่เศร้าครั้งที่ 1 (10) กิจกรรมสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ลดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ครั้งที่ 2 (11) สุขภาพจิตดี สุขภาพกายดี ด้วยสมุนไพรไทย ครั้งที่ 3 (12) ถอดบทเรียนโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพแบบพึ่งตนเองในผู้สูงอายุ (13) ติดตามประเมินผลโครงการ (14) สรุปโครงการฉบับสมบูรณ์ส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข
รหัสโครงการ 64-l7255-02-04 รหัสสัญญา 6/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
1.มีการให้ความรู้ที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ และผู้ใกล้ชิด
2.มีการสาธิตการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ
1.อ้างอิงจากการจัดกิจกรรมในโครงการ
2.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้เข้าร่วมโครงการ
1.การจัดทำโครงการต่อเนื่องในพื้นที่อื่นๆ
2.การจัดทำโครงการแบบบูรณาการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
1.การใช้วัฒนธรรมของพื้นที่ (การทำจักสาน) เข้ามาประยุกต์เพื่อพัฒนาศักยภาพ และฟื้นฟูสุขภาพทางกาย และจิตใจ
2.การถ่ายทอดความรู้จากรุ่นสู่รุ่นได้อย่างแนบเนียน
อ้างอิงจากการดำเนินกิจกรรมในการดำเนินโครงการ
1.การนำวัฒนธรรมท้องถิ่นเข้ามาประยุกต์ใช้ในการออกกำลังกายต่อไป
2.จัดทำโครงการที่เพิ่มศักยภาพในด้านดังกล่าว
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
1.การจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ และผู้ดูแล
2.มีกระบวนการนำไปใช้ในครอบครัวได้อย่างลงตัว
กิจกรรมดังกล่าวผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
1.การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มเติมเรื่องการดูแลสุขภาพในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
1.การรวบรวมข้อมูลพื้นฐานจากชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.วางแผนประชุมคณะทำงาน และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการดำเนินโครงการ
3.ดำเนินโครงการ
4.ติดตามและประเมินผลโครงการ
5.ส่งรายงานการดำเนินโครงการ
การประเมินความสามารถของผู้เข้าร่วมโครงการ
1.การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มเติมเรื่องการดูแลสุขภาพในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา
2.พัฒนาผู้นำ แกนนำต่อไป เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
1.เกิดกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่
2.กลุ่มผู้ดูแลผู้สูงอายุ
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดำเนินโครงการ
การจัดทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องที่เกี่ยข้องกับการพัฒนาด้านสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
1.โรงเรียนผู้สูงอายุในพื้นที่
กลุ่มต่างๆที่ดำเนินงานด้านผู้สูงอายุ
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีกิจกรรมที่พัฒนาผู้สูงอายุในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
1.มีการจัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม
2.มีการจัดกิจกรรม และสาธิตเพื่อการดำเนินกิจกรรมอย่างถูกต้องและเหมาะสม
การประเมินผลจากการดำเนินกิจกรรม
การนำความรู้ท้องถิ่น วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เหมาะสมเข้ามาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพ อนามัยของผู้เข้าร่วมวโครงการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
1.มีการอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพที่ดีเริ่มที่การกิน และที่เหมาะสมกับวัย
2.อบรมการใช้พืช สมุนไพรท้องถิ่นที่ดีต่อสุขภาพ
การประเมินระหว่างการดำเนินกิจกรรม
การจัดกิจกรรมที่เหมาะสม และต่อเนื่อง
การใช้พืช ผัก สมุนไพรท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
1.การประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยประยุกต์วัฒนธรรมท้องถิ่น
2.การอบรมให้ความรู้ เรื่องการออกกำลังกายยืดเหยียดอย่างเหมาะสม
การประเมินผลการดำเนินโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในชีวติประจำวัน อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
1.มีการจัดกิจกรรมจักสาน เพื่อลดความเครียด
2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3.การนำความรู้ทางพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
การประเมินผู้เข้าร่วมกิจกรรมระหว่างจัดกิจกรรม
การจัดทำโครงการและพัฒนากิจกรรมที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
1.การใช้งานจักสาน เพื่อการพัฒนาสุขภาพกาย และสุขภาพใจ
2.การพืชผักสมุนไพรในการใช้บริโภค และรักษาสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การจัดทำโครงการอย่างต่อเนื่อง และพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
1.การอบรมการดูแลตัวเองของผู้สูงอายุ
2.การอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุุอย่างเหมาะสม และลดช่องว่างระหว่างครอบครัว
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การจัดทำโครงการอย่างต่อเนื่อง และพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
1.การใช้พืช สมุนไพรในการทำความสะอาดครัวเรือน อย่างเหมาะสม
2.แนะนำให้มีการลดใช้สารเคมีระหว่างการจัดกิจกรรมอบรม
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การลดใช้ผลิตภัณฑ์ด้านเคมีในการดำเนินชีวิตประจำวัน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
1.มีการจัดกิจกรรมเพื่อลดช่องว่างในครอบครัวได้
2.การจัดสถานที่พักอาศัยอย่างเหมาะสมกับผู้สูงอายุ
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสมกับท้องถิ่น
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
1.การทำจักสาน โดยการนำความรู้ท้องถิ่นมาประยุกต์การจัดกิจกรรม
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การจัดทำโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
1.การให้คำแนะนำการรับบริการทางการแพทย์ที่เหมาะแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และประชาสัมพันธ์แก่อสม.อย่างทั่วถึง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
1.มีกฎ ข้อบังคมของกลุ่มระหว่างการจัดกิจกรรม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและประสัมพันธ์อย่างทั่วถึง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
มีการเสนอแก่เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อพัฒนาและฟื้นฟูแก่ผู้สูงอายุในพื้นที่อย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและประสัมพันธ์อย่างทั่วถึง
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
1.การจัดตั้งกลุ่มผู้สูงอายุ และรวมกลุ่มกันในวันสำคัญทางศาสนา
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
มีกระบวนการเก็บข้อมูลพื้นฐาน และปัญหาของชุมชน และนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมอย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
มีการใช้วัสดุท้องถิ่นในการจัดกิจกรรม(จักสาน)
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
การจัดกิจกรรมในทุกวันสำคัญทางศาสนา และรวมกลุ่มกันเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ชีวิต และร่วมกันพัฒนา ประยุกต์วัฒนธรรมท้องถิ่นในการดำเนินชีวิตประจำวัน
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
การรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
การนำปัญหาในชุมชน และทุนของชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
การจัดอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
การให้ความรู้ในการร่วมการพัฒนาชุมชนอย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำเสนอการปรับใช้ชีวิตอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ทั้งความรู้ และสิ่งของอย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
มีกระบวนการนำปัญหาในพื้นที่ และแก้ไขได้อย่างเหมาะสม
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข
รหัสโครงการ 64-l7255-02-04 รหัสสัญญา 6/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | 1.มีการให้ความรู้ที่เหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ และผู้ใกล้ชิด 2.มีการสาธิตการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ |
1.อ้างอิงจากการจัดกิจกรรมในโครงการ 2.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้เข้าร่วมโครงการ |
1.การจัดทำโครงการต่อเนื่องในพื้นที่อื่นๆ 2.การจัดทำโครงการแบบบูรณาการ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | 1.การใช้วัฒนธรรมของพื้นที่ (การทำจักสาน) เข้ามาประยุกต์เพื่อพัฒนาศักยภาพ และฟื้นฟูสุขภาพทางกาย และจิตใจ 2.การถ่ายทอดความรู้จากรุ่นสู่รุ่นได้อย่างแนบเนียน |
อ้างอิงจากการดำเนินกิจกรรมในการดำเนินโครงการ |
1.การนำวัฒนธรรมท้องถิ่นเข้ามาประยุกต์ใช้ในการออกกำลังกายต่อไป 2.จัดทำโครงการที่เพิ่มศักยภาพในด้านดังกล่าว |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | 1.การจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ และผู้ดูแล 2.มีกระบวนการนำไปใช้ในครอบครัวได้อย่างลงตัว |
กิจกรรมดังกล่าวผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ |
1.การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มเติมเรื่องการดูแลสุขภาพในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ | 1.การรวบรวมข้อมูลพื้นฐานจากชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.วางแผนประชุมคณะทำงาน และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการดำเนินโครงการ 3.ดำเนินโครงการ 4.ติดตามและประเมินผลโครงการ 5.ส่งรายงานการดำเนินโครงการ |
การประเมินความสามารถของผู้เข้าร่วมโครงการ |
1.การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มเติมเรื่องการดูแลสุขภาพในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2.พัฒนาผู้นำ แกนนำต่อไป เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ | 1.เกิดกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ 2.กลุ่มผู้ดูแลผู้สูงอายุ |
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดำเนินโครงการ |
การจัดทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องที่เกี่ยข้องกับการพัฒนาด้านสุขภาพ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | 1.โรงเรียนผู้สูงอายุในพื้นที่ |
กลุ่มต่างๆที่ดำเนินงานด้านผู้สูงอายุ |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และมีกิจกรรมที่พัฒนาผู้สูงอายุในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล | 1.มีการจัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม 2.มีการจัดกิจกรรม และสาธิตเพื่อการดำเนินกิจกรรมอย่างถูกต้องและเหมาะสม |
การประเมินผลจากการดำเนินกิจกรรม |
การนำความรู้ท้องถิ่น วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่เหมาะสมเข้ามาประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพ อนามัยของผู้เข้าร่วมวโครงการ |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค | 1.มีการอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพที่ดีเริ่มที่การกิน และที่เหมาะสมกับวัย 2.อบรมการใช้พืช สมุนไพรท้องถิ่นที่ดีต่อสุขภาพ |
การประเมินระหว่างการดำเนินกิจกรรม |
การจัดกิจกรรมที่เหมาะสม และต่อเนื่อง การใช้พืช ผัก สมุนไพรท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย | 1.การประเมินสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยประยุกต์วัฒนธรรมท้องถิ่น 2.การอบรมให้ความรู้ เรื่องการออกกำลังกายยืดเหยียดอย่างเหมาะสม |
การประเมินผลการดำเนินโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม |
การนำความรู้ที่ได้รับมาใช้ในชีวติประจำวัน อย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด | 1.มีการจัดกิจกรรมจักสาน เพื่อลดความเครียด 2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3.การนำความรู้ทางพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม |
การประเมินผู้เข้าร่วมกิจกรรมระหว่างจัดกิจกรรม |
การจัดทำโครงการและพัฒนากิจกรรมที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง | 1.การใช้งานจักสาน เพื่อการพัฒนาสุขภาพกาย และสุขภาพใจ 2.การพืชผักสมุนไพรในการใช้บริโภค และรักษาสุขภาพของผู้เข้าร่วมโครงการ |
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม |
การจัดทำโครงการอย่างต่อเนื่อง และพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่น |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน | 1.การอบรมการดูแลตัวเองของผู้สูงอายุ 2.การอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุุอย่างเหมาะสม และลดช่องว่างระหว่างครอบครัว |
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม |
การจัดทำโครงการอย่างต่อเนื่อง และพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่น |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ | 1.การใช้พืช สมุนไพรในการทำความสะอาดครัวเรือน อย่างเหมาะสม 2.แนะนำให้มีการลดใช้สารเคมีระหว่างการจัดกิจกรรมอบรม |
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม |
การลดใช้ผลิตภัณฑ์ด้านเคมีในการดำเนินชีวิตประจำวัน |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา | 1.มีการจัดกิจกรรมเพื่อลดช่องว่างในครอบครัวได้ 2.การจัดสถานที่พักอาศัยอย่างเหมาะสมกับผู้สูงอายุ |
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และเหมาะสมกับท้องถิ่น |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ | 1.การทำจักสาน โดยการนำความรู้ท้องถิ่นมาประยุกต์การจัดกิจกรรม |
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม |
การจัดทำโครงการอย่างต่อเนื่อง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ | 1.การให้คำแนะนำการรับบริการทางการแพทย์ที่เหมาะแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ |
การประเมินผลจากผู้ข้าร่วมโครงการระหว่างการจัดกิจกรรม |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และประชาสัมพันธ์แก่อสม.อย่างทั่วถึง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน | 1.มีกฎ ข้อบังคมของกลุ่มระหว่างการจัดกิจกรรม |
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง |
จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและประสัมพันธ์อย่างทั่วถึง |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ | มีการเสนอแก่เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อพัฒนาและฟื้นฟูแก่ผู้สูงอายุในพื้นที่อย่างเหมาะสม |
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง |
จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและประสัมพันธ์อย่างทั่วถึง |
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) | 1.การจัดตั้งกลุ่มผู้สูงอายุ และรวมกลุ่มกันในวันสำคัญทางศาสนา |
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) | มีกระบวนการเก็บข้อมูลพื้นฐาน และปัญหาของชุมชน และนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมอย่างเหมาะสม |
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน | มีการใช้วัสดุท้องถิ่นในการจัดกิจกรรม(จักสาน) |
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง | การจัดกิจกรรมในทุกวันสำคัญทางศาสนา และรวมกลุ่มกันเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ชีวิต และร่วมกันพัฒนา ประยุกต์วัฒนธรรมท้องถิ่นในการดำเนินชีวิตประจำวัน |
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน | การรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ | การนำปัญหาในชุมชน และทุนของชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม |
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน | การจัดอบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม |
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล | การให้ความรู้ในการร่วมการพัฒนาชุมชนอย่างเหมาะสม |
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง | การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำเสนอการปรับใช้ชีวิตอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน |
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร | มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ทั้งความรู้ และสิ่งของอย่างเหมาะสม |
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา | มีกระบวนการนำปัญหาในพื้นที่ และแก้ไขได้อย่างเหมาะสม |
ประเมินผลจากผู้เข้าร่วมโครงการและการรับรู้ข้องชาวบ้านใกล้เคียง |
การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม |
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการสุขภาพจิตดี สุขภาพกายดีตาม สังคมมีความสุข จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-l7255-02-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางพรทิพย์ พละสินธุ์ ประธานฯ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......