กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ


“ โครงการขี้ผึ้งสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ”

ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางพิไลลักษณ์ สุขเทพ

ชื่อโครงการ โครงการขี้ผึ้งสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L8411-02-25 เลขที่ข้อตกลง 25/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 พฤศจิกายน 2564 ถึง 3 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขี้ผึ้งสมุนไพรเพื่อสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขี้ผึ้งสมุนไพรเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขี้ผึ้งสมุนไพรเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L8411-02-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 พฤศจิกายน 2564 - 3 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ซึ่งสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์น้ำท่วมทำให้ผู้คนเกิดเป็นโรคน้ำกัดเท้า ชาวบ้านทั่วไปตลอดจนนักเรียนประสบกับปัญหานี้เป็นจำนวนมาก จากความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านส่วนใหญ่หลายๆแห่งมารวมกันมีการผลิตขี้ผึ้งสมุนไพร ขึ้นมาใช้เอง รายละเอียด ส่วนผสม และสรรพคุณของสมุนไพรต่างๆภายในบ้านเราพบว่ามีการใช้น้ำมันดอกทานตะวันมาเป็นส่วนผสมในการทำขี้ผึ้งสมุนไพร แต่น้ำมันดอกทานตะวันนั้นค่อนข้างมีราคาที่แพง ผู้คนส่วนใหญ่จึงคิดว่าในการผลิตขี้ผึ้งรักษาโรคน้ำกัดเท้านั้นใช้ส่วนผสมกับน้ำมันดอกทานตะวันเท่านั้น น้ำมันมะพร้าวเป็นทางเลือกได้อีกทางหนึ่งด้วยและน้ำมันมะพร้าวนั้นมีราคาที่ถูกว่าน้ำมันดอกทานตะวันและเพื่อการทดลองที่มีประสิทธิภาพของการใช้น้ำมันมะพร้าวอีกทางหนึ่ง โดยใช้ วาสลีน ขี้ผึ้ง ไพล ขมิ้น ตะไคร้หอม น้ำมันมะพร้าว พิมเสน เมนทอล และ การบูร นำไปหลอมให้เข้ากันทีละขั้นตอน ตามส่วนผสมที่กำหนดไว้ และได้นำไปเปรียบเทียบกับ ขี้ผึ้งที่ทำมาจากนำมันดอกทานตะวันพบว่าขี้ผึ้งที่ทำจากน้ำมันมะพร้าวมีประสิทธิภาพดีกว่าและมีราคาถูกกว่า นอกจากการนำขี้ผึ้งสมุนไพรด้านการป้องกันและรักษาโรคน้ำกัดเท้าแล้วสรรพคุณขี้ผึ้งสมุนไพรยังสามารถใช้ทาและนวดบรรเทาอาการ เคล็ด ขัด ยอก ช้ำบวมปวดกล้ามเนื้อ ปวดเส้นเอ็น แมลงสัตว์กัดต่อย น้ำร้อนลวก แก้หวัด คัดจมูกเป็นลม วิงเวียนศีรษะ ดังนั้น โรงเรียนบ้านทำนบ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขั้นพื้นฐานที่เริ่มจากการที่เด็กรักที่จะรักษาสุขภาพ จนนำไปสู่การเป็นผู้มีความตระหนักและรักสุขภาพของตนเองในอนาคตผ่านเรื่องเล็กไปสู่เรื่องใหญ่และยังสามารถทำเป็นอาชีพเสริมได้อีกทางหนึ่งต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการรักษาด้วยพืชสมุนไพร
  2. เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญเกี่ยวกับการรักษาด้วยพืชสมุนไพร
  3. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย
  4. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำขี้ผึ้งสมุนไพร
  5. เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปพัฒนาเป็นอาชีพได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมรับความรู้จากวิทยากรและปฏิบัติตามขั้นตอนการทำขี้ผึ้งสมุนไพร
  2. อบรมรับความรู้จากวิทยากรและปฏิบัติตามขั้นตอนการทำขี้ผึ้งสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการรักษาด้วยพืชสมุนไพร
  2. นักเรียนเห็นความสำคัญเกี่ยวกับการรักษาพืชสมุนไพร
  3. นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย
  4. นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำขี้ผึ้งสมุนไพร
  5. นักเรียนนำความรู้ไปพัฒนาเป็นอาชีพได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมรับความรู้จากวิทยากรและปฏิบัติตามขั้นตอนการทำขี้ผึ้งสมุนไพร

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

4.1  ขั้นตอนการเตรียมการ/การวางแผน 4.1.1  จัดประชุมคณะกรรมการจัดทำโครงการและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพื่อหาแนวทางในการจัดโครงการ 4.1.2  เขียนโครงการและนำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ     4.2  ขั้นตอนดำเนินการ 4.2.1  ผู้เข้ารับการอบรมรับความรู้จากวิทยากรและปฏิบัติตามขั้นตอนการทำขี้ผึ้งสมุนไพรดังนี้ 1.บดเมนทอลและการบูรให้ละเอียดทีละชนิดด้วยโกร่งบดยา 2.นำเมนทอล การบูร พิมเสน ตะไคร้หอม ไพล ขมิ้น น้ำมันมะพร้าวและน้ำมันระกำผสมเข้าด้วยกัน 3.ใส่พาราฟินและวาสลีนลงในหม้อ นำไปตั้งไฟให้ร้อน เคี่ยวจนละลายเป็นของเหลวยกออกจากเตา 4.เติมน้ำร้อนลงในกะละมังอะลูมิเนียม  1/3 ของขันยกตั้งไฟ 5.นำของผสมในข้อ 2 ผสมกับของผสมในข้อ 4 เทลงในขันน้ำร้อนใช้พายไม้คนให้เข้ากัน 6.เทของผสมลงในขวดจนเกือบเต็ม ตั้งทิ้งไว้ให้เย็น ของเหลวจะแข็งตัวเป็นขี้ผึ้งบาล์ม     4.3  การประเมิน     4.3.1  ผู้รับผิดชอบประเมินและสรุปผลการดำเนินโครงการ     4.3.2  ประเมินจากการตอบแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.  นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการรักษาด้วยพืชสมุนไพร 2.  นักเรียนเห็นความสำคัญเกี่ยวกับการรักษาพืชสมุนไพร 3.  นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย 4.  นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำขี้ผึ้งสมุนไพร 5. นักเรียนนำความรู้ไปพัฒนาเป็นอาชีพได้

 

110 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการรักษาด้วยพืชสมุนไพร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญเกี่ยวกับการรักษาด้วยพืชสมุนไพร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำขี้ผึ้งสมุนไพร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปพัฒนาเป็นอาชีพได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับการรักษาด้วยพืชสมุนไพร (2) เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญเกี่ยวกับการรักษาด้วยพืชสมุนไพร (3) เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย (4) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำขี้ผึ้งสมุนไพร (5) เพื่อให้นักเรียนนำความรู้ไปพัฒนาเป็นอาชีพได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมรับความรู้จากวิทยากรและปฏิบัติตามขั้นตอนการทำขี้ผึ้งสมุนไพร (2) อบรมรับความรู้จากวิทยากรและปฏิบัติตามขั้นตอนการทำขี้ผึ้งสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขี้ผึ้งสมุนไพรเพื่อสุขภาพ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L8411-02-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพิไลลักษณ์ สุขเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด