กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการฟันแข็งแรง ยิ้มสดใส
รหัสโครงการ 64-L5281-1-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ย
วันที่อนุมัติ 29 มกราคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 34,080.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางมาริยา หาดดี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 646 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาโรคในช่องปากยังคงเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญโดยเฉพาะโรคฟันผุและโรคปริทันต์ ซึ่งยังคุกคามสุขภาพช่องปากของประชาชนทั้งประเทศทำให้เกิดความเจ็บปวด ทรมาน แม้ไม่เป็นอันตรายถึงชีวิต แต่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมของประชาชน แม้ว่าการป้องกัน ควบคุมโรคในช่องปากยังคงดำเนินการต่อเนื่องแต่ก็ไม่สามารถลดโรคลงได้ซึ่งโดยเฉพาะในเด็กประถมศึกษา ตั้งแต่ชั้น อนุบาล -ป.๖ มีภาวะสุขภาพช่องปากที่ต้องเฝ้าระวัง และพบว่าเด็กที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองพาเด็กไปรับบริการทันตกรรม ซึ่งผู้ปกครองจะต้องมีความตระหนักในเรื่องสภาวะสุขภาพช่องปากของเด็ก และจะส่งผลให้การเฝ้าระวังได้ผลดี จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๐ พบว่าการเกิดโรคฟันผุเป็นปัญหาในทุกกลุ่ม อายุ และการสูญเสียฟันเพิ่มขึ้นตามอายุ เด็กอายุ ๓ ปี ซึ่งเริ่มมีฟันน้ำนมขึ้นครบ มีฟันผุแล้ว และอายุ ๕ ปี ที่เป็นโรคฟันผุและยังไม่ได้รับการรักษา มีร้อยละ ๖๐.๗๖ และ ๗๘.๗๕ ตามลำดับ จากการเฝ้าระวังสถานการณ์การเกิดโรคในช่องปากของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ยปี ๒๕๖๓ พบว่าอัตราการปราศจากฟันผุในเด็กประถมศึกษายังคงมีอัตราที่สูง ซึ่งในเด็กอายุ ๑๒ พบว่า มี cavity free ร้อยละ ๗๙.๘๐และเด็ก ๖-๑๒ ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ ๗๒.๕๒ จากเหตุผลดังกล่าวทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนุ้ยจึงหาแนวทางแก้ไขปัญหา โดยการตรวจเฝ้าระวังโรคทางระบบทันตกรรมสำหรับนักเรียนประถมศึกษา เป็นการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคในช่องปาก สอดคล้องกับสภาพปัญหาในพื้นที่ เพื่อป้องกันการเกิดโรคในช่องปาก และเป็นการลดการสูญเสียฟันและส่งเข้ารับนักเรียนที่มีปัญหาในระบบทันตกรรมเข้ารับบริการทันตกรรมเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพช่องปาก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 นักเรียนได้รับการตรวจฟัน ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ได้รับการตรวจฟัน ข้อที่ 2 นักเรียนได้รับความรู้และแปรงฟันถูกวิธี ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 70 ได้รับความรู้และแปรง ฟันถูกวิธี

1.นักเรียนได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 80       2 นักเรียนได้รับความรู้และแปรงฟัน ร้อยละ 70

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : ข้อที่ 1 นักเรียนได้รับการตรวจฟัน ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ได้รับการตรวจฟัน ข้อที่ 2 นักเรียนได้รับความรู้และแปรงฟันถูกวิธี ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 70 ได้รับความรู้และแปรง ฟันถูกวิธี

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 ม.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 โครงการฟันแข็งแรง ยิ้มสดใส 34,080.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 80 2 นักเรียนได้รับความรู้และแปรงฟัน ร้อยละ 70

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ม.ค. 2564 00:00 น.