กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหนูน้อยปฐมวัยว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำปลอดภัย ”
ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนงลักษณ์ เหมะรักษ์




ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยปฐมวัยว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5202(3)-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยปฐมวัยว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำปลอดภัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยปฐมวัยว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยปฐมวัยว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5202(3)-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ข้อมูลจากกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข รายงานว่าในช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา (ปีพ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๖๓) มีเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี จมน้ำเสียชีวิต ๗,๗๙๔ คน เฉลี่ยปีละ ๗๗๙ คน หรือวันละ ๒ คน กลุ่มเด็กอายุ ๕ - ๙ ปี มีสัดส่วนการเสียชีวิตสูงที่สุด (ร้อยละ ๓๙.๗) รองลงมาคือ กลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี (ร้อยละ 35.๔) ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบกับอัตราต่อประชากรเด็กแสนคนพบว่า กลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๕ - ๙ ปี มีอัตราการเสียชีวิตสูงที่สุดเช่นเดียวกัน โดยเฉลี่ยเท่ากับ ๗.๘ และข้อมูลในปี พ.ศ.๒๕๖๓ มีเด็กจมน้ำเสียชีวิต ๕๓๑ คน ช่วงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมเป็นเดือนที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุด เพราะตรงกับช่วงปิดภาคการศึกษาและช่วงฤดูร้อน โดยเฉลี่ยปีละ ๒๖๓ คน เด็กเล็ก (อายุ ๐ - ๒ ปี) จมน้ำเสียชีวิตถึง ๙๑ คน (ร้อยละ ๑๗.๑ ของเด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี) เดือนกรกฎาคมพบเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุด (๕๕ คน) รองลงมาคือมิถุนายน (๕๔ คน) และพฤศจิกายน (๕๔ คน) ซึ่งแตกต่างจากทุกปีที่ผ่านมา ทั้งนี้อาจเป็นผลมาจากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด ๑๙ แหล่งน้ำตามธรรมชาติ บ่อขุดเพื่อการเกษตรยังคงเป็นแหล่งน้ำที่พบการจมน้ำสูงสุด (ร้อยละ ๓๓.๒) อย่างไรก็ตาม กลุ่มเด็กอายุ ๐ - ๒ ปีพบจมน้ำเสียชีวิตสูง เฉลี่ยถึงปีละ ๑๖1 คน (ซึ่งส่วนใหญ่เสียชีวิตจากการจมน้ำภายในบ้านและละแวกบ้านของตนเอง เพราะขาดการจัดการพื้นที่เล่นที่ปลอดภัยให้เด็ก ทั้งนี้เด็กเล็ก สามารถจมน้ำในภาชนะที่มีน้ำเพียงเล็กน้อย ประมาณ 1 - 2 นิ้ว) และ 10 จังหวัดแรกที่มีจำนวนเด็กจมน้ำเสียชีวิตสูงที่สุด ได้แก่ บุรีรัมย์ (2๔ คน), นครราชสีมา (๒๑ คน), สุรินทร์ (๒๐ คน), ขอนแก่น (๑๙ คน), นราธิวาส (๑๙ คน), สกลนคร (๑๗ คน), นครศรีธรรมราช (๑๕ คน), ร้อยเอ็ด (๑๔ คน), เชียงใหม่ (1๓ คน) และสงขลา (๑๓ คน)   ข้อมูลช่วงปิดเทอม 3 เดือน (มีนาคม - พฤษภาคม) ปี พ.ศ. 2563 พบว่า เด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี จมน้ำเสียชีวิต ๑๓๕ คน (ร้อยละ ๒๕.๔ ของเด็กที่จมน้ำเสียชีวิตตลอดทั้งปี) แหล่งน้ำที่เกิดเหตุจมน้ำมากที่สุด คือ แม่น้ำ (ร้อยละ ๒๓.๗) รองลงมาคือ บ่อน้ำ (ร้อยละ ๑๕.๘) อ่างเก็บน้ำ (ร้อยละ ๑๓.๒) และคลอง (ร้อยละ ๑๓.๒) สาเหตุเกิดจากการไปเล่นน้ำมากที่สุด  (ร้อยละ ๕๒.๖) รองลงมาคือพลัดตก ลื่น (ร้อยละ ๒๑.๑) และที่น่าสนใจคือ ลงไปช่วยคนที่ตกน้ำและตนเองจมน้ำเสียชีวิต (ร้อยละ ๕.๓)    เด็กที่ตกลงไปในน้ำ (เฉพาะที่ทราบสถานะความสามารถในการว่ายน้ำ) พบว่า ร้อยละ ๕๗.๙ ว่ายน้ำไม่เป็น เด็กที่ตกลงไปในน้ำ (เฉพาะที่ทราบสถานะ การใช้เสื้อชูชีพ) พบว่า ร้อยละ ๖๘.๔ ไม่สวมเสื้อชูชีพ ขณะที่เกิดเหตุจมน้ำพบว่า เด็กอยู่กับเพื่อนมากที่สุด (ร้อยละ ๓๙.๕) รองลงมาคืออยู่กับผู้ปกครอง (ร้อยละ ๓๒.๖) เด็กที่จมน้ำพบว่า เสียชีวิต ณ ที่เกิดเหตุมากที่สุด (ร้อยละ ๕๒.๖) รองลงมาคือ เสียชีวิต ณ โรงพยาบาล/ห้องฉุกเฉิน (ร้อยละ ๑๓.๒) และมีการช่วยเหลือคนตกน้ำที่ผิดวิธี โดยการกระโดดลงไปช่วย ถึงร้อยละ ๒๗.๕   จากข้อมูลดังกล่าวทำให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลประกอบ เล็งเห็นถึงความจำเป็นในการป้องกันและเฝ้าระวังปัญหาเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ ประกอบกับพื้นที่ของตำบลประกอบมีแหล่งน้ำต่างๆ มากมาย เช่น น้ำตก ลำคลอง บ่อน้ำและแหล่งน้ำต่างๆ อีกมากมาย จึงมีความจำเป็นที่ต้องมีการบรรจุเรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไว้ในกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็ก เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้สอนให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง โดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการสอนให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง เน้นการสอน “อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม” และการตะโกนขอความช่วยเหลือ ซึ่งครูและผู้ปกครองถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมาก ซึ่งต้องมีความรู้ ในการดูแลและสอนบุตรหลาน ให้รู้จักแหล่งน้ำเสี่ยงและหากเด็กจมน้ำต้องมีความรู้ความเข้าใจในการกู้ชีพหรือปฐมพยาบาลอย่างถูกวิธี ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลประกอบ ได้จัดทำโครงการ “โครงการหนูน้อยปฐมวัยว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำปลอดภัย” เพื่อฝึกทักษะเสริมประสบการณ์การว่ายน้ำและเล่นน้ำอย่างปลอดภัยให้กับเด็กปฐมวัย และการอบรมให้ความรู้ ป้องกันและการช่วยเหลือที่ถูกต้อง หากพบเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝัน ให้กับครูและผู้ปกครอง ขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ.2564

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยให้มีทักษะการว่ายน้ำและเล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย
  2. ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวัย
  3. ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเรียนรู้ทักษะการป้องกันตนเองจากการจมน้ำและเรียนรู้ขั้นตอนการช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อประสบเหตุ
  4. ข้อที่ 4 เพื่อให้ครูและผู้ปกครองเรียนรู้และฝึกทักษะการช่วยเหลือ เมื่อเจอเหตุการณ์เด็กจมน้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลประกอบว่ายน้ำเป็น สามารถเล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย และมีความรู้ในการป้องกันการจมน้ำ   2. เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลประกอบมีพัฒนาการครบถ้วนทุกด้าน   3. ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ในการป้องกันเด็กจมน้ำและการปฐมพยาบาล อย่างถูกวิธี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยให้มีทักษะการว่ายน้ำและเล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : - เด็กปฐมวัยมีทักษะการว่ายน้ำและเล่นน้ำอย่างปลอดภัย
    0.00

     

    2 ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวัย
    ตัวชี้วัด : - เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการครบถ้วนทั้ง 4 ด้าน
    0.00

     

    3 ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเรียนรู้ทักษะการป้องกันตนเองจากการจมน้ำและเรียนรู้ขั้นตอนการช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อประสบเหตุ
    ตัวชี้วัด : - เด็กปฐมวัยมีความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากการจมน้ำ - เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้ทักษะในการช่วยเหลือเมื่อประสบเหตุ
    0.00

     

    4 ข้อที่ 4 เพื่อให้ครูและผู้ปกครองเรียนรู้และฝึกทักษะการช่วยเหลือ เมื่อเจอเหตุการณ์เด็กจมน้ำ
    ตัวชี้วัด : - ครู ผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการป้องกันและช่วยเหลือเมื่อประสบเหตุเด็กจมน้ำ
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยให้มีทักษะการว่ายน้ำและเล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย (2) ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวัย (3) ข้อที่ 3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเรียนรู้ทักษะการป้องกันตนเองจากการจมน้ำและเรียนรู้ขั้นตอนการช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อประสบเหตุ (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้ครูและผู้ปกครองเรียนรู้และฝึกทักษะการช่วยเหลือ เมื่อเจอเหตุการณ์เด็กจมน้ำ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อยปฐมวัยว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำปลอดภัย จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L5202(3)-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนงลักษณ์ เหมะรักษ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด