กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ


“ ผู้นำสุขภาพน้อยวัยเรียน ”

ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสมพรศรี ชูโตชนะ

ชื่อโครงการ ผู้นำสุขภาพน้อยวัยเรียน

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5247-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 25 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ผู้นำสุขภาพน้อยวัยเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ผู้นำสุขภาพน้อยวัยเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " ผู้นำสุขภาพน้อยวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหมอ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5247-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 25 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพเป็นปัจจัยที่สำคัญในการดำรงชีวิต ถ้าบุคคลมีสุขภาพดี จะเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต และการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดตั้งแต่วัยเด็ก ในปัจจุบันสาธารณสุขได้ปฏิรูปไปสู่การส่งเสริมสุขภาพ โดยมุ่งเน้นให้คนไทยสามารถพึ่งพาตนเองได้ สามารถดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน การส่งเสริมสุขภาพเป็นสิ่งที่ทุกคน ทุกสถานที่สามารถทำให้เกิดขึ้นได้ โรงเรียนจึงเป็นสถาบันการสร้างสุขภาพที่มีความสำคัญ โดยผู้เรียนมี ความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิต ทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจสามารถครองชีวิตอย่างเป็นสุข ในปัจจุบันการปฏิรูปการศึกษาได้ปฏิรูปไปสู่การส่งเสริมสุขภาพเป็นกิจกรรมที่สำคัญและจำเป็นมากในรงเรียนเพราะการที่เด็กและเยาวชนมีสุขภาพดี สมบูรณ์แข็งแรง ทั้งร่างกายและจิตใจนั้นเป็นสิทธิขั้นต้นของมนุษย์ ที่ผู้อื่นไม่สามารถหยิบยื่นให้ได้ และเป็นหน้าที่ของคนทุกคนที่ต้องแสวงหาสร้างเสริมให้เกิดกับตนเอง พร้อมทั้งช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผู้ที่อยู่ใกล้ชิด ด้วยเหตุนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองรำ จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้มีสุขภาพแข็งแรง มีความรู้ที่ถูกต้องและสนับสนุนให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๕ ที่มีความสนใจ ตั้งใจ และเสียสละเวลาช่วยเหลือบริการเพื่อนๆ ให้มีสุขภาพดีเข้ารับการอบรมเป็นผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ เพื่อสร้างผู้นำนักเรียนฝ่ายส่งเสริมสุขภาพให้มีความรู้ เจตคติและทักษะในด้านอนามัยที่ถูกต้องเป็นประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และเป็นตัวอย่างที่ดีของชุมชน สามารถเผยแพร่ความรู้ทางด้านอนามัยและให้บริการสาธารณสุขมูลฐานแก่ตนเอง เพื่อนนักเรียน ตลอดจนชุมชนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่๑.เพื่อสร้างผู้นำนักเรียนให้มีความรู้ เจตคติ และทักษะทางด้านสุขภาพที่ถูกต้องเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชน
  2. ข้อที่ ๒.เพื่อให้ผู้นำนักเรียนสามารถเผยแพร่ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ทางด้านสุขภาพทั้งในโรงเรียนและชุมชนของตนเองได้
  3. ข้อที่ ๓.เพื่อให้ผู้นำนักเรียนสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่ตนเองเพื่อนนักเรียน สมาชิกในครอบครัว และชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. - แบ่งกลุ่มย่อย กลุ่มละ ๒๕ คน- จัดเป็นฐาน ๔ ฐาน- มีวิทยากรกลุ่มแต่ละฐาน
  2. คัดเลือกแกนนำสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ มีความรู้ ความเข้าใจ เกิดเจตคติและทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีทางด้านสุขภาพแก่เพื่อนนักเรียนและครอบครัว ๒. ผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพสามารถช่วยเหลือบริการด้านสุขภาพอนามัยแก่เพื่อนนักเรียนช่วยเหลือครูและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพสาธารณสุขตามความเหมาะสม
๓.ผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพสามารถเผยแพร่ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร เพื่อการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน และชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. - แบ่งกลุ่มย่อย กลุ่มละ ๒๕ คน- จัดเป็นฐาน ๔ ฐาน- มีวิทยากรกลุ่มแต่ละฐาน

วันที่ 10 สิงหาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้ตามหลักสูตร โดยแบ่งเป็น 4 ฐานความรู้ ได้แก่ ฐานที่ 1 เรื่อง บทบาทผู้นำนักเรียน/เรียรรู้ร่วมกัน/โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ  ฐานที่ 2 เรื่อง สุขภาพอนามัย/เอาใจใส่ตนเอง/คนเก่งคนดีรักสะอาด/ปราศโรคปลอดทุกข์  ฐานที่ 3 เรื่อง สุขภาพเจริญวัย/สุขใจ เจริญจิต / ช่วยมิตร ช่วยเพื่อน /สัญญาณเตือนภัยใกล้ตัว  และ ฐานที่ 4 เรื่อง ครอบครัวสุขภาพดี/ชีวิตมีค่า/หลักการใช้ยา/พลานามัยสมบูรณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีนักเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน 99 คน  แบ่งเข้ารับการอบรมทั้ง 4 ฐาน เด็ก ๆได้รับความรู้และนำไปใช้ประโยชน์ในครอบครัว และที่โรงเรียน

 

0 0

2. คัดเลือกแกนนำสุขภาพ

วันที่ 10 สิงหาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

คัดเลือกแกนนำสุขภาพจากตัวแทนของทุกโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการร่วมกันคัดเลือกตัวแทนจากทุกโรงเรียนเป็นแกนนำสุขภาพ เพื่อนำไปปฏิบัติได้จริงในโรงเรียน ได้แก่ การตรวจสุขภาพเพื่อนรักเรียน กิจกรรมในห้องพยาบาล  การสำรวจลูกน้ำยุงลาย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่๑.เพื่อสร้างผู้นำนักเรียนให้มีความรู้ เจตคติ และทักษะทางด้านสุขภาพที่ถูกต้องเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชน
ตัวชี้วัด : ๑.ผู้นำนักเรียนทุกคนมีความรู้และทักษะ ด้านสุขภาพที่ถูกต้อง

 

2 ข้อที่ ๒.เพื่อให้ผู้นำนักเรียนสามารถเผยแพร่ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ทางด้านสุขภาพทั้งในโรงเรียนและชุมชนของตนเองได้
ตัวชี้วัด : ผู้นำนักเรียนทุกคนสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ให้แก่คนอื่นได้

 

3 ข้อที่ ๓.เพื่อให้ผู้นำนักเรียนสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่ตนเองเพื่อนนักเรียน สมาชิกในครอบครัว และชุมชนได้
ตัวชี้วัด : ผู้นำนักเรียนทุกคนสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติต่อเพื่อน ครอบครัว และ ชุมชนได้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่๑.เพื่อสร้างผู้นำนักเรียนให้มีความรู้ เจตคติ และทักษะทางด้านสุขภาพที่ถูกต้องเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชน (2) ข้อที่ ๒.เพื่อให้ผู้นำนักเรียนสามารถเผยแพร่ความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ทางด้านสุขภาพทั้งในโรงเรียนและชุมชนของตนเองได้ (3) ข้อที่ ๓.เพื่อให้ผู้นำนักเรียนสามารถช่วยเหลือดูแลทางด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่ตนเองเพื่อนนักเรียน สมาชิกในครอบครัว และชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) - แบ่งกลุ่มย่อย กลุ่มละ ๒๕ คน- จัดเป็นฐาน ๔ ฐาน- มีวิทยากรกลุ่มแต่ละฐาน (2) คัดเลือกแกนนำสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ผู้นำสุขภาพน้อยวัยเรียน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5247-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมพรศรี ชูโตชนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด