โครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาด ปลอดขยะ ปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาด ปลอดขยะ ปี 2564 ”
ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางศริณยา อินแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาด ปลอดขยะ ปี 2564
ที่อยู่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาด ปลอดขยะ ปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาด ปลอดขยะ ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาด ปลอดขยะ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 200 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญที่อยู่คู่กับสังคมไทยและ นับวันยิ่งมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้น จากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยทุกปีตามอัตราการ เพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของ ประชาชน ในขณะเดียวกันปริมาณขยะมูลฝอยที่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำ แม้ว่าองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ทั้งการจัดเก็บ เคลื่อนย้าย รวมทั้งการกำจัด ระบบการจัดขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้น แต่ก็ยังไม่เพียงพอกับปริมาณขยะมูลฝอยที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี
ตำบลพนมวังก์ มีจำนวนครัวเรือน1,815หลังคาเรือนมีสถานประกอบการ วัด โรงเรียนสถานที่ราชการ สพด.จำนวน 32 แห่ง กระจายทุกหมู่บ้านจากการสำรวจข้อมูลการคัดแยกขยะของตำบลพนมวังก์
พบว่ามีการคัดแยกขยะ ร้อยละ 16.44การจัดบ้านให้ถูกสุขลักษณะร้อยละ 44.36 และข้อมูลปริมาณขยะของ อบต.พนมวังก์ ปื2560-2563มีจำนวนเฉลี่ย 595.25 ตันต่อปีค่าใช้จ่ายในการส่งขยะกำจัดเฉลี่ย 244,540 บาทต่อปี
ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์หลายประการดังต่อไปนี้ คือ 1) เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลง และพาหะของโรคเนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนมากับขยะมูลฝอยมีโอกาสที่จะขยายพันธุ์เพิ่มจำนวนมากยิ่งขึ้นได้ ดังนั้นขยะที่ขาดการเก็บรวบรวม และการกำจัด จึงทำให้เกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ที่สำคัญของเชื้อโรค แมลงวัน หนู แมลงสาบ ซึ่งเป็นหาหะนำโรคมาสู่คน 2) ก่อให้เกิดความรำคาญ ขยะมูลฝอยที่ตกค้างเกิดเป็นกลิ่นรบกวน 3) ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ขยะที่ตกค้างเมื่อมีฝนตกลงมาจะไหลชะนำความสกปรก เชื้อโรค สารพิษจากขยะไหลลงสู่แหล่งน้ำ ทำให้แหล่งน้ำเกิดเน่าเสียได้ และนอกจากนี้ขยะมูลฝอยยังส่งผลกระทบต่อคุณภาพดิน ซึ่งจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับคุณลักษณะของขยะมูลฝอย ถ้าขยะมีซากถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซากหลอดฟลูออเรสเซนต์มาก ก็จะส่งผลต่อปริมาณโลหะหนักพวกปรอท แคดเมียม ตะกั่ว ในดินมาก ซึ่งจะส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ในดิน และสารอินทรีย์ในขยะ มูลฝอยเมื่อมีการย่อยสลาย จะทำให้เกิดสภาพความเป็นกรดในดิน และเมื่อฝนตกมาชะกองขยะมูลฝอยจะ ทำให้น้ำเสียจากกองขยะมูลฝอยไหลปนเปื้อนดินบริเวณรอบ ๆ ทำให้เกิดมลพิษของดินได้ การปนเปื้อนของดิน ยังเกิดจากการนำมูลฝอยไปฝังกลบ หรือการยักยอกนำไปทิ้งทำให้ของเสียอันตรายปนเปื้อนในดิน ถ้ามีการเผาขยะมูลฝอยกลางแจ้งทำให้เกิดควันมีสารพิษทำให้คุณภาพของอากาศเสีย ส่วนมลพิษทางอากาศจากขยะมูลฝอยนั้น อาจเกิดขึ้นได้ทั้งจากมลสารที่มีอยู่ในขยะและพวกแก๊สหรือไอระเหย ที่สำคัญก็คือ กลิ่นเหม็นที่เกิดจากการเน่าเปื่อย และสลายตัวของอินทรีย์สารเป็นส่วนใหญ่ 4) ทำให้เกิดการเสี่ยงต่อสุขภาพ ขยะมูลฝอยที่ทิ้งและรวบรวมโดยขาดประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งขยะมูลฝอยพวกของเสียอันตราย ถ้าขาดการจัดการที่เหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนได้ง่าย เช่น โรคทางเดินอาหารที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีแมลงวันเป็นพาหะ หรือได้รับสารพิษที่มากับของเสียอันตราย
จากปัญหาดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลพนมวังก์ จึงได้จัดทำโครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาดปลอดขยะปี 64 เพื่อให้ประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนริมถนนหนทาง มีการคัดแยะขยะต้นทางจัดบ้านเรือนให้สะอาดสวยงามปลอดขยะปลอดถังขยะลดปริมาณขยะต้นทาง ลดค่าใช้จ่าย เป็นต้นแบบบ้านในการจัดขยะที่ถูกต้อง ของตำบลพนมวังก์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาเครือข่ายในการสร้างการมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยน กิจกรรมลดขยะได้ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมแกนนำ อสม . อปท. รพสต. ศพด.ให้ความรู้ชี้แจงโครงการจำนวน 50 คน
- ประชาสัมพันธ์รณรงค์เชิงรุก
- จัดกิจกรรมพัฒนาเครือข่าย ในการสร้างการมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยน กิจกรรมลดขยะได้ดีมีรางวัล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประ่ชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้าน หน้าบ้านตนเอง ริมทาง
- ลดรายจ่ายและปริมาณขยะที่ต้องส่งกำจัดต่อ
- ประชาชนใช้หลัก 3 Rs ในการจัดการขยะภายในครัวเรือน
- ประชาชนมีสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
- บ้านเรือน ริมทาง สะอาด สวยงาน ปลอดขยะ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาเครือข่ายในการสร้างการมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยน กิจกรรมลดขยะได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนพื้นที่ตำบลพนมวังก์มีการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้น
16.00
30.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาเครือข่ายในการสร้างการมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยน กิจกรรมลดขยะได้ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมแกนนำ อสม . อปท. รพสต. ศพด.ให้ความรู้ชี้แจงโครงการจำนวน 50 คน (2) ประชาสัมพันธ์รณรงค์เชิงรุก (3) จัดกิจกรรมพัฒนาเครือข่าย ในการสร้างการมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยน กิจกรรมลดขยะได้ดีมีรางวัล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาด ปลอดขยะ ปี 2564 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางศริณยา อินแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาด ปลอดขยะ ปี 2564 ”
ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางศริณยา อินแก้ว
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาด ปลอดขยะ ปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาด ปลอดขยะ ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาด ปลอดขยะ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 200 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญที่อยู่คู่กับสังคมไทยและ นับวันยิ่งมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้น จากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยทุกปีตามอัตราการ เพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการอุปโภคบริโภคของ ประชาชน ในขณะเดียวกันปริมาณขยะมูลฝอยที่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำ แม้ว่าองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ทั้งการจัดเก็บ เคลื่อนย้าย รวมทั้งการกำจัด ระบบการจัดขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้น แต่ก็ยังไม่เพียงพอกับปริมาณขยะมูลฝอยที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ตำบลพนมวังก์ มีจำนวนครัวเรือน1,815หลังคาเรือนมีสถานประกอบการ วัด โรงเรียนสถานที่ราชการ สพด.จำนวน 32 แห่ง กระจายทุกหมู่บ้านจากการสำรวจข้อมูลการคัดแยกขยะของตำบลพนมวังก์ พบว่ามีการคัดแยกขยะ ร้อยละ 16.44การจัดบ้านให้ถูกสุขลักษณะร้อยละ 44.36 และข้อมูลปริมาณขยะของ อบต.พนมวังก์ ปื2560-2563มีจำนวนเฉลี่ย 595.25 ตันต่อปีค่าใช้จ่ายในการส่งขยะกำจัดเฉลี่ย 244,540 บาทต่อปี ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์หลายประการดังต่อไปนี้ คือ 1) เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลง และพาหะของโรคเนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนมากับขยะมูลฝอยมีโอกาสที่จะขยายพันธุ์เพิ่มจำนวนมากยิ่งขึ้นได้ ดังนั้นขยะที่ขาดการเก็บรวบรวม และการกำจัด จึงทำให้เกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ที่สำคัญของเชื้อโรค แมลงวัน หนู แมลงสาบ ซึ่งเป็นหาหะนำโรคมาสู่คน 2) ก่อให้เกิดความรำคาญ ขยะมูลฝอยที่ตกค้างเกิดเป็นกลิ่นรบกวน 3) ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ขยะที่ตกค้างเมื่อมีฝนตกลงมาจะไหลชะนำความสกปรก เชื้อโรค สารพิษจากขยะไหลลงสู่แหล่งน้ำ ทำให้แหล่งน้ำเกิดเน่าเสียได้ และนอกจากนี้ขยะมูลฝอยยังส่งผลกระทบต่อคุณภาพดิน ซึ่งจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับคุณลักษณะของขยะมูลฝอย ถ้าขยะมีซากถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซากหลอดฟลูออเรสเซนต์มาก ก็จะส่งผลต่อปริมาณโลหะหนักพวกปรอท แคดเมียม ตะกั่ว ในดินมาก ซึ่งจะส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ในดิน และสารอินทรีย์ในขยะ มูลฝอยเมื่อมีการย่อยสลาย จะทำให้เกิดสภาพความเป็นกรดในดิน และเมื่อฝนตกมาชะกองขยะมูลฝอยจะ ทำให้น้ำเสียจากกองขยะมูลฝอยไหลปนเปื้อนดินบริเวณรอบ ๆ ทำให้เกิดมลพิษของดินได้ การปนเปื้อนของดิน ยังเกิดจากการนำมูลฝอยไปฝังกลบ หรือการยักยอกนำไปทิ้งทำให้ของเสียอันตรายปนเปื้อนในดิน ถ้ามีการเผาขยะมูลฝอยกลางแจ้งทำให้เกิดควันมีสารพิษทำให้คุณภาพของอากาศเสีย ส่วนมลพิษทางอากาศจากขยะมูลฝอยนั้น อาจเกิดขึ้นได้ทั้งจากมลสารที่มีอยู่ในขยะและพวกแก๊สหรือไอระเหย ที่สำคัญก็คือ กลิ่นเหม็นที่เกิดจากการเน่าเปื่อย และสลายตัวของอินทรีย์สารเป็นส่วนใหญ่ 4) ทำให้เกิดการเสี่ยงต่อสุขภาพ ขยะมูลฝอยที่ทิ้งและรวบรวมโดยขาดประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งขยะมูลฝอยพวกของเสียอันตราย ถ้าขาดการจัดการที่เหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนได้ง่าย เช่น โรคทางเดินอาหารที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีแมลงวันเป็นพาหะ หรือได้รับสารพิษที่มากับของเสียอันตราย จากปัญหาดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลพนมวังก์ จึงได้จัดทำโครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาดปลอดขยะปี 64 เพื่อให้ประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนริมถนนหนทาง มีการคัดแยะขยะต้นทางจัดบ้านเรือนให้สะอาดสวยงามปลอดขยะปลอดถังขยะลดปริมาณขยะต้นทาง ลดค่าใช้จ่าย เป็นต้นแบบบ้านในการจัดขยะที่ถูกต้อง ของตำบลพนมวังก์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาเครือข่ายในการสร้างการมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยน กิจกรรมลดขยะได้ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมแกนนำ อสม . อปท. รพสต. ศพด.ให้ความรู้ชี้แจงโครงการจำนวน 50 คน
- ประชาสัมพันธ์รณรงค์เชิงรุก
- จัดกิจกรรมพัฒนาเครือข่าย ในการสร้างการมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยน กิจกรรมลดขยะได้ดีมีรางวัล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประ่ชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้าน หน้าบ้านตนเอง ริมทาง
- ลดรายจ่ายและปริมาณขยะที่ต้องส่งกำจัดต่อ
- ประชาชนใช้หลัก 3 Rs ในการจัดการขยะภายในครัวเรือน
- ประชาชนมีสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
- บ้านเรือน ริมทาง สะอาด สวยงาน ปลอดขยะ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาเครือข่ายในการสร้างการมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยน กิจกรรมลดขยะได้ดี ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนพื้นที่ตำบลพนมวังก์มีการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้น |
16.00 | 30.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาเครือข่ายในการสร้างการมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยน กิจกรรมลดขยะได้ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมแกนนำ อสม . อปท. รพสต. ศพด.ให้ความรู้ชี้แจงโครงการจำนวน 50 คน (2) ประชาสัมพันธ์รณรงค์เชิงรุก (3) จัดกิจกรรมพัฒนาเครือข่าย ในการสร้างการมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยน กิจกรรมลดขยะได้ดีมีรางวัล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบ้านริมทาง ชวนมอง สะอาด ปลอดขยะ ปี 2564 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางศริณยา อินแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......