กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพนักบริบาลผู้สูงอายุ(Care Giver:CG)เพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี


“ โครงการพัฒนาศักยภาพนักบริบาลผู้สูงอายุ(Care Giver:CG)เพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560 ”

ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพนักบริบาลผู้สูงอายุ(Care Giver:CG)เพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพนักบริบาลผู้สูงอายุ(Care Giver:CG)เพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพนักบริบาลผู้สูงอายุ(Care Giver:CG)เพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพนักบริบาลผู้สูงอายุ(Care Giver:CG)เพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 115,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปรากฏการณ์ใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑ ของประเทศไทย คือการก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ จากข้อมูลพบว่าขนาดหรือจำนวนประชากรรวม และประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นจากในปี พ.ศ ๒๕๐๓ จนถึงปัจจุบันและมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นต่อไปในอนาคต โดยประชากรผู้สูงอายุ หรือประชากรที่มีอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป เพิ่มจาก ๑.๕ ล้านคน ในปี พ.ศ ๒๕๐๓ เป็น ๗.๕ ล้านคน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ และคาดว่าจะเพิ่มถึง ๑๗.๗ ล้านคนในปี พ.ศ ๒๕๗๓ เมื่อมองถึงสัดส่วนประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ เช่นกันโดยในปี พ.ศ.๒๕๕๐ประมาณ ๑ใน๑๐ ของประชากรไทยจะเป็นผู้สูงอายุ และภายในปี พ.ศ.๒๕๗๓ คาดประมาณกันว่าสัดส่วนดังกล่าวจะเพิ่มเป็น ๑ ใน๔ ในขณะที่แนวโน้มผู้สูงอายุอยู่คนเดียวหรืออยู่ลำพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึ้น โดยพบว่าผู้สูงอายุคนเดียวเพิ่มจากร้อยละ ๓.๖ ในปี พ.ศ.๒๕๓๗ เป็นร้อยละ ๗.๖ในปี พ.ศ.๒๕๕๐ ซึ่งมีผลต่อการให้ดูแลผู้สูงอายุทั้งทางร่างกายและจิตใจอายุยิ่งเกิดการเสื่อมถอยของร่างกาย พบว่าผู้สูงอายุเกินครึ่ง (ร้อยละ ๕๗.๗)มีปัญหาด้านการมองเห็น การได้ยิน การหกล้ม จากปัญหาผู้สูงอายุดังกล่าว ทำให้มีค่าใช้จ่ายสูงในการดูแลรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในผู้สูงอายุที่ยังมีสุขภาพดี ให้มีสุขภาพแข็งแรงเพื่อยืดเวลาที่จะเกิดการเจ็บป่วยเรื้อรังต่อไปและในผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยให้หายหรือทุเลาจากการลดการเกิดความพิการ หรือทุพพลภาพ และยืดเวลาของการเข้าสู่ภาวะทุพพลภาพออกไป การเตรียมการเพื่อรองรับสภาพปัญหาของผู้สูงอายุจึงเป็นประเด็นสำคัญ อำเภอไทยเจริญตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้ดำเนินการโครงการพัฒนาศักยภาพนักบริบาลผู้สูงอายุ (Care Giver:CG) เพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน หลักสูตร ๗๐ ชั่วโมง ขึ้นเพื่อตอบสนองดัชนีวัดตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่๒ (พ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุของกระทรวงสาธารณสุข รวมถึงนโยบายสำคัญของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู็สูงอายุให้เป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได่อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป ตำบลฝาละมีมีผู้สูงอายุจำนวน ๑,๘๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๐๒ พบว่าเป็นผู้สูงอายุติดสังคม ร้อยละ ๗๓.๐๙ และเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงกลุ่มติดบ้าน ร้อยละ ๗.๒๗ ติดเตียงร้อยละ ๑.๑๔ เพื่อเป็นการรองรับสังคมผู้สูงอายุ การพัฒนาระบบบริการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวและผู้สูงอายุที่ต้องการการพึ่งพิงจึงเป็นสิ่้งสำคัญเร่งด่วน กลไกที่สำคัญ คือ การพัฒนาตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือจะต้องมีข้อมูลผู้สูงอายุเพื่อการวางแผนการดูแลช่วยเหลือ มีผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน มีชมรมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ มีการเยี่ยมดูแลผู้สูงอายุที่บ้านโดยทีมหมอครอบครัว เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างถ้วนหน้า เท่าเทียมและมีคุณภาพชีวิตที่ดี คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฝาละมี จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพนักบริบาลผู้สูงอายุ (Care Giver:CG) เพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน ตำบลฝาละมี ขึ้น เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดยเน้นการดำเนินงานแบบครอบครัวชุมชน ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยผู้สูงอายุและปฏิบัติต่อผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. 2.เพื่อเตรียมกา่รรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ในท้องถิ่น ชุมชน
  3. 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร และภาคีเครือข่ายที่ทำงานด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยผู้สูงอายุและปฎิบัติต่อผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.ท้องถิ่น ชุมชน มีการเตรียมการรองรับระบบผู้สูงอายุระยะยาว 3.พัฒนาศักยภาพบุคลากร และภาคีเครือข่ายที่ทำงานดก้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยผู้สูงอายุและปฏิบัติต่อผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อเตรียมกา่รรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ในท้องถิ่น ชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร และภาคีเครือข่ายที่ทำงานด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพอนามัยผู้สูงอายุและปฏิบัติต่อผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) 2.เพื่อเตรียมกา่รรองรับระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ในท้องถิ่น ชุมชน (3) 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร และภาคีเครือข่ายที่ทำงานด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพนักบริบาลผู้สูงอายุ(Care Giver:CG)เพื่อการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด