กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการ ส่งเสริมและการป้องกันสุขภาพเยาวชนจากพิษภัยของบุหรี ”

จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นาย ฮัมดัน ดอฆอ

ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมและการป้องกันสุขภาพเยาวชนจากพิษภัยของบุหรี

ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-l2479-2-15 เลขที่ข้อตกลง 21/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ส่งเสริมและการป้องกันสุขภาพเยาวชนจากพิษภัยของบุหรี จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมและการป้องกันสุขภาพเยาวชนจากพิษภัยของบุหรี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ส่งเสริมและการป้องกันสุขภาพเยาวชนจากพิษภัยของบุหรี " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-l2479-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เยาวชนบ้านกูเวนับว่าเป็นบุคคลสำคัญ ที่มีพละกำลังที่สมบูรณ์ มีความพร้อมทางด้านร่างกาย จิตใจ ที่พร้อมใจที่จะพัฒนาหมู่บ้านให่้เกิดความเข้มแข็งในอนาคตได้ แต่ด้วยสภาวะการณ์ในปัจจุบันเยาวชน ร้อยละ 50อ่อนแรง ในทางความคิด ขาดความรู้ เกิดการชัดจูนได้ง่าย บ้างคนไม่สนใจในการเรียน ไม่สนใจกับการสั่งสอนของพ่อแม่ ครุอาจารย์ ทำให้เกิดการปฏิบัติตัวลงทางไปในทางที่ผิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนที่อยู่ในวาวะกลุ่มเสี่ยง ที่มีอายุอยู่ในช่วนไม่เกิน 25 ปี ถือว่าสูญเสี่ยงมากในการที่จะไปติดสิ่งเสพติด ติดบุหรี โดยที่เกิดจากเยาวชนไม่มีสติ ไม่มีความรู้ ไม่มีความเข้าใจในการที่จะป้องกันตัวเองจากพิษภัยของสิ่งเสพติด และบุหรี ด้วยเหตุนี้คณะกรรมการชมรมเยาวชนบ้านกูเว โดยได้รับคำแนะนำจากทีมที่ปรึกษาชมรมเยาวชน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงได้เสนอจัด โครงการ ส่งเสริมและการป้องกันสุขภาพเยาวชนจากพิษภัยของบุหรี เพื่อที่จะให้เยาวชน บ้านกูเวมีความรู้ ความเข้าใจในการที่จะเพิ่มความสามารถในการป้องกันต้นเองจากพิษภัยของสิ่งเสพติด และบุหรี ส่งเสริมในการเกิดการความรักรักในต้นเอง รักครอบครัว และมีความสามารถที่จะพัฒนาหมู่บ้านในอนาคตต่อไปได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
  2. เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี
  3. เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน
  4. เพื่อลดปริมาณการสูบบุหรี่ของผู้สูบบุหรี่ อายุ 15 ปีขึ้นไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ประสานงาน และจัดประชุม
  2. กิจกรรมส่งเสริมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันพิษภัยของบุหรี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยงลดอัตราการสูบบุหรีได้

2.สามารถที่ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่ได้

3.สามรถลดปริมาณการสูบบุหรี่ของผู้สูบบุหรี่ อายุไม่เกิน 25 ปีขึ้นไป

4.เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ้และเพิ่มความสามารถในการป้องกันต้นเองจากพิษภัยบุหรี

5.เยาวชนเกิดความรักในต้นเอง รักครอบครัว และมีความสามารถที่จะพัฒนาหมู่บ้านได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ประสานงาน และจัดประชุม

วันที่ 13 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุม/วางแผนคณะกรรมการเยาวชน เพื่อดำเนินโครงการ กิจกรรมประชาสัมพันธ์การดำเนินโครงการฯ
ลงพื้นที่เชิญชวน ประสาน สรรหาเยาวชนที่อยู่ในภาวะกลุ่มเสียง จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยาวชนมีความสนใจ เข้าร่วมโครงการ

 

0 0

2. กิจกรรมส่งเสริมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันพิษภัยของบุหรี

วันที่ 14 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันพิษภัยของบุหรี่ ค่าวิทยากร 5 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3000 บาท ค่าอาการกลางวันและเครื่องดื่ม  50 คน ๆ ละ ละ 60 เป็นเงิน 3000 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คนๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2500 บาท ค่าป้ายไวนิล 3*1.5 เมตร เป็นเงิน 1125 บาท
ค่าเอกสาร วัสดุ (สมุด ปากกา ) 50 คนๆ ละ 85 บาท เป็นเงิน 4250 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชนกลุ่มเสี่ยงลดอัตราการสูบบุหรี่ได้
สามารถลดค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่ได้
เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจและเพิ่มความสามารถในการป้องกันตนเองจากพิษภัยบุหรี่
เยาวชนเกิดความรักในตนเอง รักครอบครัว และมีความสามารถที่จะพัฒนาหมู่บ้านได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(ร้อยละ)
60.00 50.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ (คน)
50.00 40.00

 

3 เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน
ตัวชี้วัด : ค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน ลดลงเหลือ(บาท)
60.00 40.00

 

4 เพื่อลดปริมาณการสูบบุหรี่ของผู้สูบบุหรี่ อายุ 15 ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : ปริมาณการสูบบุหรี่เฉลี่ยต่อคนต่อวันของผู้สูบบุหรี่ อายุ 15 ปีขึ้นไป ลดลงเหลือ(มวน)
60.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี (3) เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซื้อบุหรี่เฉลี่ยต่อเดือนของผู้สูบบุหรี่รายคน (4) เพื่อลดปริมาณการสูบบุหรี่ของผู้สูบบุหรี่ อายุ 15 ปีขึ้นไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ประสานงาน และจัดประชุม (2) กิจกรรมส่งเสริมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันพิษภัยของบุหรี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ส่งเสริมและการป้องกันสุขภาพเยาวชนจากพิษภัยของบุหรี จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-l2479-2-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาย ฮัมดัน ดอฆอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด