กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี


“ โครงการชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการขยะ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560 ”

ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการขยะ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการขยะ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการขยะ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการขยะ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 265,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลฝาละมี ได้ประสบปัญหาเกี่ยวกับการบริหารการจัดการขยะ เช่นเดียวกับหลายๆท้องถิ่น ที่ไม่สามารถบริหารจัดการขยะได้ ทั้งนี้เกิดจากควา่มเติบโตทางเศรษฐกิจและค่านิยมของประชาชนในการซื้ออาหารจากตลาดหรือร้านค้าเพื่อบริโภคมากกว่าการผลิตใช้เอง อีกทั้งประชาชนยังขาดจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในด้านการจัดการขยะมูลฝอย ประชาชนยังมีแนวคิดว่าเป็นหน้าที่องค์กรปกครองส่วนตำบลในการกำจัด คัดแยกขยยะ โดยข้อมูลจากองค์กรปกครองส่วนตำบลฝาละมี ได้มีการจัดเก็บขยะในพื้นที่ตำบลฝาละมี เฉลี่ยวันละ ๒๔,๐๐๐ กิโลกรัม ปีละ ๘๔,๐๐๐ ตัน(ข้อมูลจาก อบต.ฝาละมี)และพบว่าขยะในพื้นที่มีจำนวนมากมายโดยไม่มีการคัดแยกขยะเลยเนื่องมา ประชากรส่วนใหญ่ไม่ได้เห็นความสำคัญในการพึ่งตนเองในการแยกและกำจัดขยะ ประกอบกับเป็นชุมชนการเกษตร จึงมีขยะจากผลผลิตทางการเกษตรที่เหลือทิ้งจำนวนมาก รวมทั้งเศษอาหารจากครัวเรือนซึ่งไม่ได้มีการจัดการขยะอย่างเหมาะสม โดยในพื้นที่มีเฉพาะถังขยะของ อบต. ที่จัดรองรับไว้เป็นจุดๆ และทิ้งขยะปะปนกันทุกประเภทประกอบยกับพฤติกรรมการทิ้งขยะส่วนใหญ่ของผู้คนในชุมชน คือ การทิ้งขยะหลากหลายประเภทในถังเดี่ยวกันนำไปไว้หน้าบ้านและรอรถขยะมารับ ซึ่งในถังขยะใบนั้นประกอบด้วยขยะทั่วไป ขยะอันตราย และขยะรีไซเคิล ซึ่งเมื่อดูจากปริมาณขยะมูลฝอยแต่ละวันแล้ว ถึงแม้จะมีการคัดแยกขยะที่ปลายทาง ก็ยังมีคงเหลืออยู่มากและคาดหมายว่าจะมีผลทำให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะกับคลองฝาละมี จึงจำเป็นต้องมีการคัดแยกตั้งแต่ต้นตอของขยะและนำไปบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพต่อ ไป และจากผลการศึกษาองค์ประกอบของขยะมูลฝอย พบว่า องค์ประกอบของขยะมูลฝอยองค์การบริหารส่วนตำบลฝาละมี ส่วนใหญ่เป็นขยะรีไซเคิล ร้อยละ ๕๑.๙๒ รองลงมาเป็นขยะอินทรีย์ ร้อยละ ๔๔.๒๓ และขยะทั่วไปหรือขยะที่ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ร้อยละ ๓.๘๕ และไม่พบขยะอันตราย จากข้อมูลดังกล่าวหากไม่มีการสร้างความรู้ความเข้าใจ มีการรณรงค์ สร้างความตระหนักให้กับประชาชนมีการคัดแยกขยะต้นทางก่อนทิ้งหรือการลด คัดแยกขยะโดยใช้หลักการ 3Rs ก็จะทำให้ปริมาณขยะที่นำไปกำจัดลดลง ทำให้ช่วยลดรายจ่ายในการเก็บขนการทำความสะอาด นอกจากนี้ยังมีรายได้จากการขายขยะรีไซเคิล การทำปุ๋ยหรือน้ำหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์ หากมีการคัดแยกขยะที่ต้นทางมีประสิทธิภาพ จะเหลือขยะทั่วไปหรือขยะที่ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้น้อยมาก จึงจำเป็นต้องมีการคัดแยกตั้งแต่ต้นตอของขยะ และนำไปบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีการรับรู้และเกิดจิตสำนึกที่ดีในการรักษาสิ่งแวดล้อม
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกมูลฝอยในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธี
  3. 3.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างรูปธรรมและเป็นระบบ โดยใช้หลักการ๓Rs
  4. 4.เพื่อจัดตั้งธนาคารขยะของหมู่บ้านและสถานศึกษา
  5. 5.เพื่อสร้างรายได้เสริมแก่ชุมชนในการแปลงขยะให้เป็นทุน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชากรในตำบลฝาละมีมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยตามแนวทางการลดปริมาณของเสียงให้น้อยลง (Less Waste) จนมีการจัดการขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste) 2. ชุมชนและทุกครังเรือนที่เข้าร่วมฝึกอบรมได้รับการฝึกอบรมได้รับความรู้ เกิดกระบวนการเรียนรู้ และสามารถในด้านการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นมีการคัดแยกขยะจากแหล่งที่เกิด มีการทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ ไว้ใช้เองในชุมชนและครัวเรือน และมีรายได้จากการขายขยะรีไซเคิล 3.มีเครือข่ายในการจัดการปัญหาขยะมูลฝอยในครัวเรือนและชุมชน 4.ลดปริมาณขยะที่ต้องฝั่งกลบ ลดขยะตกค้าง ทำให้ลดมลภาวะจากขยะชุมชนได้ 5.มีการนำผลิตภัณฑ์ที่ได้จากขยะอินทรีย์ ได้แก่ ปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ ซึ่งเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมไปใช้ทางการเกษตร คืนธรรมชาติสู่ธรรมชาติ ลดการใช้ปุ๋ยเคมีได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีการรับรู้และเกิดจิตสำนึกที่ดีในการรักษาสิ่งแวดล้อม
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกมูลฝอยในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างรูปธรรมและเป็นระบบ โดยใช้หลักการ๓Rs
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4.เพื่อจัดตั้งธนาคารขยะของหมู่บ้านและสถานศึกษา
    ตัวชี้วัด :

     

    5 5.เพื่อสร้างรายได้เสริมแก่ชุมชนในการแปลงขยะให้เป็นทุน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีการรับรู้และเกิดจิตสำนึกที่ดีในการรักษาสิ่งแวดล้อม (2) 2.เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกมูลฝอยในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธี (3) 3.เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างรูปธรรมและเป็นระบบ โดยใช้หลักการ๓Rs (4) 4.เพื่อจัดตั้งธนาคารขยะของหมู่บ้านและสถานศึกษา (5) 5.เพื่อสร้างรายได้เสริมแก่ชุมชนในการแปลงขยะให้เป็นทุน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการขยะ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านฝาละมี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด