กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหัวเขาเรารักสะอาด จัดการขยะอย่างบูรณาการ
รหัสโครงการ L7253-64-1-19
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวเขา
วันที่อนุมัติ 10 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 50,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประสิทธิ์ ง๊ะสตูล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสทิงหม้อ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
30.00
2 จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
0.00
3 แกนนำนักเรียนและแกนนำชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการขยะในครัวเรือน
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาขยะมูลผอยเป็นปัญหาสำคัญที่อยู่คู่กับสังคมไทยมายาวนาน และนับวันยิ่งมีแนวโฯ้ม ทวีความรุนแรงมากขึ้น จากสถานกรณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2562 ในเรื่องขยะ พบว่ามีขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณ 28.7 ล้านตัน เพื่อเพิ่มจากปี 2561 ร้อยละ 3 (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ,2562) โดยจังหวัดสงขลา มีปัญหาขยะมูลฝอยตกค้างในสถานที่จำกัดขยะมูลฝอยที่ดำเนินการไม่ถูกต้อง เป็นลำดับที่ 17 ของประเทศ ซึ่งมีขยะตกค้างมากถึง 147645 ตัน ในตำบลหัวเขาอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาขยะมาอย่างยาวนาน ซึ่งมีสาเหตุมาจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร ทำให้อาศัยกันอย่างหนาแน่แออัด อีกทั้งคนในชุมชนยังขาดความตระหนักในด้านการรักษาความสะอาด ของมนุษย์มากขึ้น ทำให้ลักษณะการใช้ชีวิตประจำวันเปลี่ยนไป ก่อนให้เกิดปริมาณของเหลือทิ้งเป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็นต้นเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาด้านต่างๆ เช่น มลพิษทางอากาศ มลพิษทางน้ำ เป็นแหล่งพาหะนำโรค และทำให้ทัศนียภาพไม่สวยงาม ดังนั้น ปัญหาขยะเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องรีบแก้ไขอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน โดยจะต้องเกิดจากความร่วมมือของคนในชุมชนเอง และจากหน่วยงานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรเริ่มที่การปลูกฝังจิตสำนึกให้คนในพื้นที่รักความสะอาดและตระหนักถึงผลกระทบปัญหาขยะ รวมไปถึงการสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการคัดแยกขยะที่ถูกต้องและเหมาะสมเพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ุเชื้อโรคในพื้นที่

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ

จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

0.00 30.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ

จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)

0.00 11.00
3 เพื่อเพิ่มแกนนำนักเรียนและแกนนำชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการขยะในครัวเรือน

จำนวน แกนนำนักเรียนและแกนนำชุมชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการขยะในครัวเรือน

0.00 30.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 800.00 0 0.00
22 เม.ย. 64 แต่งตั้งคณะทำงานในโครงการ/วางแผนการดำเนินโครงการ 0 0.00 -
22 - 30 เม.ย. 64 ประชาสัมพันธ์ุและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ 0 800.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนและนักเรียน เกิดความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะ การคัดแยกขยะและได้ตรหนักถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ
  2. ประชาชน และนักเรียน เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในการคัดแยกขยะครัวเรือนที่พึงประสงค์
  3. ประชาชนและนักเรียน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และค่านิยมการจัดการขยะที่พึงประสงค์
  4. ปริมาณการเกิดขยะในชุมชนลดลง ชุมชนมีความสะอาด
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 มี.ค. 2564 10:23 น.