กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัยไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย ปี 2564 ”

ตำบลสทิงหม้อ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประสิทธิ์ ง๊ะสตูล

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัยไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลสทิงหม้อ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7253/64-1-21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มีนาคม 2564 ถึง 24 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัยไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย ปี 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสทิงหม้อ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัยไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัยไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสทิงหม้อ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7253/64-1-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มีนาคม 2564 - 24 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,850.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพแก้ไขปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุด้วยแนวคิดไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย หรือ 4 AMRTได้แก่ 1. Smart Walk ออกกำลังกายสมำ่เสมอเพื่อร่างกายที่แข็งแรง ไม่หกล้ม โดยผู้สูงอายุออกกำลังอายอย่างน้อย สัปดาห์ละ 5 วัน ๆ ละ 30 นาที2.) Smart Brain&Emotional ดูแลฝึกทักษะสมอง ส่งเสริมสุขภาพจิตและอารมณ์ โดยการเข้าร่วมกิจกรรมในชมชรมผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุ รณรงค์ส่งเสริมพฤติการไม่สูบบุหรี่ 3.) Smart Sleep คือ นอนหลับอย่างเพียงพออย่างน้อยวันละ 7-8 ชั่วโมง และ 4.) Smart Eat กินอาหารตามหลักโภชนาการ ครบ 5 หมู่ ลดหวาน มัน เค็ม เน้นผัก ผลไม้ เลือกอาหารที่โปรตีนคุณภาพสูง เช่น ปลาทะเล ซึ่งมีโอเมก้า 3 สูง ช่วยบำรุงประสาท สายตา และสมอง ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี เพื่อความสามารถในการบดเคี้ยวอาหาร มีฟันใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ 4 คู่สบ ตลอดจนการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ความรอบรู้สำหรับประชาชน ในตำบลหัวเขาอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา มีผู้สูงอายุในปี 2564 ทั้งหมด 2,081 คน แยกประเภทตามสภาวะพึ่งพิงทางสุขภาพได้ ดังนี้ ผู้สูงอายุติดสังคม 1,882คน ผู้สูงอายุติดบ้าน 115คน ผู้สูงอายุติดเตียง 55 คน ผู้สูงอายุมีภาวะความเสี่ยงสมองเสื่อม 19 คน จะเห็นได้ว่าในกลุ่มติดบ้านและติดเตียง เป็นกลุ่มที่มีขนาดจำนวนมากระดับหนึ่ง และชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวเขา ร่วมกับภาคีเครือข่ายจึงเล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุไม่ล้ม ไม่ลืมไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อยเพื่อ้ปงกันโรคในผู้สูงอายุที่ยังมีสุขภาพดีให้มีสุขภาพแข็งแรง ยืดเวลาที่จะเกิดการเจ็บป่วยเรื้อรังหรือการเข้าสู่ภาวะทุพลภาพออกไปเพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของยตนเองที่ถูกต้อง ตลอดถึงสามารถถ่ายทอดความรู้แก่ผู้อื่นที่ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมได้ด้วยซึ่งจะส่งผลฝห้ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีขึ้น สามารถดำเนินชีวิตในบั้นปลายชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ มีความสุขตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างเครือข่ายการติดตามดูแลผู้สูงอายุร่วมกับทีมสหวิชาชีพ
  2. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
  3. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่ติดบ้าน
  4. เพื่อลดผู้สูงอายุมีภาวะความเสี่ยงสมองเสื่อม (คน)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำโครงการขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร
  2. แต่งตั้งคณะทำงาน /ติดต่อประมาณสานงานผู้เข้าร่วมโครงการ
  3. สำรวจข้อมูลสุขภาพและจัดทำทะเบียนข้อมูลผู้สูงอายุ
  4. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำผู้สูงอายุ ตามคู่มือส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและป้องกันภาวะสมองเสื่อม ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย 4 SMART จำนวน 2 รุ่น ๆละ 40 คน
  5. จัดตั้งเครือข่ายติดตามเยี่ยมบ้านฟื้นฟุสมรรถภาพที่บ้านในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงร่วมกับทีมสหวิชาชีพ
  6. สรุปโครงการฉบับสมบูรณ์ส่งกองทุนฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองสภาวะสุขภาพ ค้นหาภาวะเสี่ยงและส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้อง

  2. ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และป้องกันภาวะสมองเสื่อม ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึกเศร้า กินข้าวอร่อย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างเครือข่ายการติดตามดูแลผู้สูงอายุร่วมกับทีมสหวิชาชีพ
ตัวชี้วัด : เกิดเครือข่ายแกนนำผู้สูงอายุเพื่อติดตามดูแลผู้สูงอายุที่ติดบ้านติดเตียงร่วมกับทีมสหวิชาชีพ และเรียนรู้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายที่ถูกต้องได้
50.00 80.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง
55.00 45.00

 

3 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่ติดบ้าน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่ติดบ้านมีจำนวนลดลง
115.00 80.00

 

4 เพื่อลดผู้สูงอายุมีภาวะความเสี่ยงสมองเสื่อม (คน)
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีภาวะความเสี่ยงสมองเสื่อม (คน)ลดลง
19.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างเครือข่ายการติดตามดูแลผู้สูงอายุร่วมกับทีมสหวิชาชีพ (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่ติดบ้าน (4) เพื่อลดผู้สูงอายุมีภาวะความเสี่ยงสมองเสื่อม (คน)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร (2) แต่งตั้งคณะทำงาน /ติดต่อประมาณสานงานผู้เข้าร่วมโครงการ (3) สำรวจข้อมูลสุขภาพและจัดทำทะเบียนข้อมูลผู้สูงอายุ (4) จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำผู้สูงอายุ ตามคู่มือส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและป้องกันภาวะสมองเสื่อม ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย 4 SMART จำนวน 2 รุ่น ๆละ 40 คน (5) จัดตั้งเครือข่ายติดตามเยี่ยมบ้านฟื้นฟุสมรรถภาพที่บ้านในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงร่วมกับทีมสหวิชาชีพ (6) สรุปโครงการฉบับสมบูรณ์ส่งกองทุนฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิท-19 ทำให้กิจกรรมในการติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุร่วมกับทีมสหวิชาชีพ ไม่สามารถดไเนินกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพสูงวัยไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย ปี 2564 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7253/64-1-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประสิทธิ์ ง๊ะสตูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด