กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร


“ โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง ”

ตำบลหัวเขา อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวเขา โดยนายประสิทธิ์ ง๊ะสตูล ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวเขา

ชื่อโครงการ โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง

ที่อยู่ ตำบลหัวเขา อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7253-64-1-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหัวเขา อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหัวเขา อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7253-64-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสิงหนคร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จังหวัดสงขลามีผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ 355.44 รายต่อประชากรแสนคน ความดันโลหิตสูงรายใหม่ 801.41 รายต่อประชากรแสนคนและอำเภอสิงหนครพบผู้ป่วยความดันรายใหม่ 559 คนและเบาหวานรายใหม่ 322 คนในพื้นที่ตำบลหัวเขามีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 924 คนเบาหวาน 142 คนและเป็นทั้งเบาหวานความดันโลหิตสูง 909 คนซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2562 จะเห็นได้ว่าข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและประชาชนกลุ่มเสี่ยงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวเขามีจำนวนมากและยังพบว่ามีการดูแลสุขภาพที่ไม่ถูกต้องจึงส่งผลให้พบภาะแทรกซ้อนต่างๆตามมา โรค NCDsเป็นโรคที่สามารถป้องกันการเกิดโรคได้ด้วยการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนจนเกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพ (health Literacy)จัดเป็นความรู้ความสามารถของบุคคลในการที่จะเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทางด้านสุขภาพ เสาะแสวงหา สืบค้นและทำความเข้าใจ แปลความหมายข้อมูลสุขภาพที่ได้รับหรือเข้าถึงได้จนเกิดแรงจูงใจในการตัดสินใจเลือกและใช้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อได้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวเขาเล็งเห็นถึงความสำคัญของการสร้างเสริมมิติสุขภาพในชุมชนโดยเฉพาะมิติด้านการส่งเสริมและการป้องกันจึงจัดทำ "โครงการปรับตัวเปลี่ยนใจลดพฤติกรรมเสี่ยงปี 2564"โดยแบ่งกลุ่มเป้าหมายเป็น 2 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มป่วย (ป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตไม่ได้)จำนวน 100 คน 2.กลุ่มเสี่ยง (ประชาชนทั่วไปที่มีความดันโหิตและระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงต่อการเกิดโรค)จำนวน 100 คนโดยการทำโครงการจะชักนำกลุ่มเป้าหมายเข้ามา "ปรับพฤติกรรมแบบเข้มข้น"เพื่อสุขภาพที่ดีอย่างยังยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจข้อมูลและจัดทำแผนตรวจคัดกรองสุขภาพในชุมชนหมู่ที่ 1-8 ตำบลหัวเขา
  2. คัดกรองตรวจสุขภาพประชาชนตามจุดต่างๆในหมู่ที่ 1-8 ตำบลหัวเขา
  3. ปรับพฤติกรรมแบบเข้มข้นในกลุ่มเสี่ยง
  4. ปรับพฤติกรรมแบบเข้มข้นในกลุ่มป่วย
  5. ติดตามผลการดำเนินโครงการ
  6. สรุปผลการดำเนินโครงการส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาเมืองสิงหนคร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเรื้อรัง
  2. กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วม ไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
  3. กลุ่มป่วยที่เข้าร่วมโครงการไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
  4. เกิดกระแสการดูแลสุขภาพในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
142.00 110.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
924.00 800.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูลและจัดทำแผนตรวจคัดกรองสุขภาพในชุมชนหมู่ที่ 1-8 ตำบลหัวเขา (2) คัดกรองตรวจสุขภาพประชาชนตามจุดต่างๆในหมู่ที่ 1-8  ตำบลหัวเขา (3) ปรับพฤติกรรมแบบเข้มข้นในกลุ่มเสี่ยง (4) ปรับพฤติกรรมแบบเข้มข้นในกลุ่มป่วย (5) ติดตามผลการดำเนินโครงการ (6) สรุปผลการดำเนินโครงการส่งกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาเมืองสิงหนคร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับตัว เปลี่ยนใจ ลดพฤติกรรมเสี่ยง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7253-64-1-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวเขา โดยนายประสิทธิ์ ง๊ะสตูล ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวเขา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด