กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส


“ โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการและการขาดโภชนาการเด็ก ”

ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการและการขาดโภชนาการเด็ก

ที่อยู่ ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการและการขาดโภชนาการเด็ก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการและการขาดโภชนาการเด็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการและการขาดโภชนาการเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเชิงแส อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,275.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเชิงแส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเผชิญทั้งปัจจุบันปัญหาภาวะโภชนาการเกินและภาวะขาดสารอาหารในเวลาเดียวกันโดยเฉพาะในวัยเด็กผลกระทบอันเกิดจากภาวะผอมและเตี้ยของเด็กไทยจะส่งผลต่อภาวะไอคิวของเด็กไทยที่มีค่าเฉลี่ยเพียง98.59แม้ว่าจะจัดอยู่ในเกณฑ์ปกติแต่ค่อนข้างไปทางต่ำกว่าค่ากลางมาตรฐานสากลซึ่งควรจะมีไอคิวอยู่ที่100ในขณะที่เด็กเกาหลีใต้ , ญี่ปุ่น ,จีนและสิงคโปร์อยู่ที่105-108 ส่วนผลกระทบความอ้วนในเด็กพบว่าเด็กไทยที่อ้วนเกินครึ่งมีภาวะไขมันในเลือดสุงกว่าปกติและหนึ่งในสามของเด็กอ้วนจะมีภาวะความดันโลหิตสูงและน้ำตาลในเลือดสูงที่สำคัญเด็กที่อ้วนจะมีโอกาสโตเป็นผู้ใหญ่อ้วนสูงถึงร้อยละ30เมื่อผู้ใหญ่อ้วนจะตามด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กไทยวัยเรียนผอมเตี้ยหรืออ้วนเพราะพฤติกรรมทางโภชนาการและสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ซึ่งจากการสำรวจโภชนาการเด็กไทยวัย6-14ปีจำนวน1ใน5คนกินอาหารไม่ครบ3 มื้อโดยเฉพาะมื้อเช้ามีมากถึงร้อยละ60ที่ไม่ได้กินเด็กวัย6-14ปีร้อยละ68และ55กินผักและผลไม้น้อยกว่า1ส่วนต่อวันตามลำดับในขณะที่เด็กไทย1ใน3กินอาหารแป้งไขมันน้ำตาลและโซเดียมสูงเป็นประจำที่น่าตกใจเด็กไทยวัยเรียนร้อยละ49.6กินขนมกรุบกรอบเป็นประจำซึ่งขนมกรุบกรอบส่วนมากจะมีไขมันน้ำตาลโซเดียมและให้พลังงานสูงส่วนอาหารกลางวันมีเด็กวัยเรียนจำนวนไม่น้อยที่ไม่น้อยที่ไม่ได้กินถึงได้กินแต่เป็นอาหารกลางวันที่ขาดคุณภาพและไม่เพียงพอส่งผลให้เด็กไทยมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการทั้งขาดและเกินผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เต็มตามศักยภาพที่ควรจะเป็น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเชิงแส รับเด็กอายุ 2ปี 5 เดือน ถึง 4ปี ปัจจุบันมีเด็กจำนวน 56 คน เด็กร้อยละ 50 ของจำนวนเด็กใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเชิงแสอยู่กับกับย่าหรือยายเป็นผู้เลี้ยงดู จากการตรวจสุขภาพของเด็กของโดยเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลกระแสสินธุ์และการนำโปรแกรม Inmu-Schoo-Shortcut มาใช้ทำให้ทราบข้อมูลภาวะโภชนาการเด็ก ที่ขาดสารอาหาร มีโภชนาการไม่สมวัยและยังมีเด็กที่ขาดสารอาหารเป็นจำนวน11 คนและเด็กบางคนไม่ชอบรับประทานผักผลไม้เพื่อปรับนิสัยการรับประทานอาหารของเด็ก เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองใส่ใจให้ความสำคัญกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กสมวัย เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเชิงแสได้เรียนรู้ ได้ฝึกปฏิบัติเอง ปลูกเองรับประทานเอง และสร้างเครือข่ายไปยังผู้ปกครองในชุมชนปลูกผัก ผลไม้โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์เกิดความปลอดภัย เด็กและผู้ปกครองต่างมีส่วนช่วยในการกระตุ้นซึ่งกันและกันให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพตลอดจนลดการบริโภคน้ำหวานลงและเพิ่มการบริโภคผักผลไม้มากขึ้นซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีของนักเรียนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กและผู้ปกครองได้รับความรู้ภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย และประโยชขน์ของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค
    2. เกิดกระบวนการเรียนรู้และมีทัศนคติที่ดีเรื่องการกินผักและผลไม้
    3. เกิดหลักสูตรโรงเรียนเรื่องเกษตรหรือผักผลไม้
    4. เด็กรู้จักประโยชน์ของการรับประทานผักผลไม้
    5. เด็กรู้จักวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้รับประทานเอง
    6. ครูบุคลากรในศูนย์เด็กเล็กบ้านเชิงแสและชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแก้ปัญหาภาวะโภชนาการและการขาดโภชนาการเด็ก จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด