กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ สู่ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี


“ โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ สู่ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560 ”

ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
กองการศึกษา อบต.ฝาละมี

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ สู่ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ สู่ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ สู่ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ สู่ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยในแต่ละปีมีเด็กเกิดใหม่ จำนวน 700,000 กว่าคน จึงมีเด็กก่อนวัยเรียนที่มีอายุต่ำกว่า 5ปี จำนวนเกือบ 4 ล้านคน ซึ่งในกลุ่มเด็กที่มีอายุระหว่าง 2 ปี ครึ่ง - 5 ปี ร้อยละ50 หรือประมาณเกือบ 2 ล้านคน จากสถานภาพสังคมและเศรษกิจในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้ผู้ปกครอง ส่วนใหญ่ไม่มีเวลาที่จะเลี้ยงดูบุตรหลานด้วยตนเอง จึงนิยมนำบุตรหลานไปฝากเลี้ยงที่ศููนย์เด็กเล็ก (Nursery) เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าโรงเรียน ดังนั้นศูนย์เด็กเล็ก จึงเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเจ็บป่วยจะแพร่เชื้อโรคสู่เด็กอื่นได้ง่าย เนื่องจากเด็กเล็กมีภูมิคุ้มกันต่ำจึงมีโอกาสป่วยได้บ่อย โดยเฉพาะโรคติดต่อที่สำคัญและพบบ่อย ได้แก่ โรค ไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก โรคอุจาระร่วงเฉียบพลัน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีโรคติดเชื้อที่สำคัญอื่นๆ ซึ่งสามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น หัดเยอรมัน คางทูม คอตีบ ไอกรน เป็นต้น โดยจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพและพัฒนาการโดยรวมของเด็ก ในปี พ.ศ.๒๕๕๙ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลฝาละมี มีเด็กที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๑๓ ราย โรคมือ เท้า ปาก จำนวน ๑๕ ราย และโรคอุจาระร่วง จำนวน ๒๓ ราย ซึ่งจะเห็นได้ว่า เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลฝาละมี ยังมีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ ในระดับสูง ซึ่งการดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรคในศูนย์เด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น และมีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการช่วยลดการเกิดและแพร่กระจายของโรคติดต่อดังกล่าว โดยครูผู้ดูแลเด็กเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะพัฒนาให้ศูนย์เด็กเล็กปลอดภัยจากโรคต่างๆ เนื่องจากเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดเด็กมากที่สุดในช่วงที่เด็กอยู่ในศูนย์เด็กเล็ก อีกทั้งเป็นผู้มีอิทธิพลต่อการดูแลและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็กและสิ่งสำคัญอีกประการที่จะช่วยให้การดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็กประสบความสำเร็จได้ เกิดจากความตระหนัก ความร่วมมือของบุคลากรทุกภาคส่วนและทุกระดับ ทั้งพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานขอศูนย์เด็กเล็กอย่างเข้มแข็ง
กองการศึกษาฯ ตำบลฝาละมีมีครูผู้ดูแลเด็กจำนวน ๓๑ คน และมีเด็กทั้งหมด ๓๓๕ คน ซึ่งยังต้องมีการพัฒนาองค์ประกอบต่างๆ ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพครอบคลุมทุกด้าน อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย เอื้อต่อการมีสุขภาพกายและใจดี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลฝาละมี ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรคในศูนย์เด็กเล็ก ซึ่งเปรียบเสมือนปราการสำคัญที่จะช่วยลดการติดเชื้อที่อาจเกิดขึ้นในเด็ก จึงได้จัดทำโครงการ พัฒนาศูนย์เด็กเล็ก สู่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลฝาละมี ขึ้นเพื่อเป็นการศึกษาและพัฒนารูปแบบการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กที่ได้มาตรฐานต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของเด็ก ในศูนย์เด็กเล็ก
  2. 2.เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก
  3. 3.เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์เด็กเล็ก ให้ปลอดภัย ปลอดโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคของเด็ก ในศูนย์เด็กเล็ก 2.เด็กมีทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นที่ถูกต้อง 3.ศูนย์เด็กเล็กมีสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย ปลอดโรค 4.ลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก และโรค มือ เท้า ปาก จากปีที่ผ่านมา


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของเด็ก ในศูนย์เด็กเล็ก
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์เด็กเล็ก ให้ปลอดภัย ปลอดโรค
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของเด็ก ในศูนย์เด็กเล็ก (2) 2.เพื่อส่งเสริมทักษะการดูแลตนเองที่จำเป็นสำหรับเด็ก (3) 3.เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์เด็กเล็ก ให้ปลอดภัย ปลอดโรค

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ สู่ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กองการศึกษา อบต.ฝาละมี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด