โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ปีงบ 64
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ปีงบ 64 ”
ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวณัฏฐณิชา เจ๊ะเลาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ปีงบ 64
ที่อยู่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5202-(1)-1 เลขที่ข้อตกลง 9/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ปีงบ 64 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ปีงบ 64
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ปีงบ 64 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5202-(1)-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,537.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญอย่างหนึ่งที่จะต้องได้รับการแก้ไข โดยเฉพาพโรคฟันผุจะพบมากในเด็กนักเรียนประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆ ที่ตรวจพบในกลุ่มเดียวกัน ปัญหาด้านทันตสุขภาพนั้นนอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพช่องปากของเด็กแล้ว ยังมีผลกระทบต่อการเรียน และพัฒนาการของเด็กนักเรียนประถมศึกษาในช่วงอายุ 6-12 ปี เป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ๆ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมร่องลึกทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายหากขาดทั้งความรู้ในเรื่องโรคในช่องปาก ความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากและพฤติกรรมการดูแลช่องปากล้วนก่อให้เกิดแนวโน้มโรคฟันผุ และภาวะเหงือกอักเสบสูงขึ้น ตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคโรคในช่องปากได้ง่าย หากไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่ดีพอ โรคในช่องปากเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้และสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด้ก การฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดีและการส่งเสริมและป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรคจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้
จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่า มีอัตราการเกิดโรคฟันผุสูง ทำให้มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่เจ้าหน้าที่ทางทันตสาธารณสุขทุกคนต้องร่วมมือในการแก้ปัญหา ซึ่งเด็กไทยในปัจจุบันส่วนใหญ่จะประสบปัญหาทางทันตสุขภาพ ดังนี้
1. ฟันผุเพิ่มขึ้น
2. แปรงฟันที่โรงเรียนลดลง
3. กินขนมมากขึ้นและกินอาหารที่มีเส้นใยลดลง
จากการสำรวจนักเรียนชั้นประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง ในพื้นที่ตำบลประกอบ พ.ศ. 2562 ก็ได้ประสบปัยหาดังกล่าวเช่นกัน โโยเฉพาพปัญหาโรคฟันผุ พบว่านักเรียนมีฟันแท้ผุ จำนวน 145 คน คิดเป็นร้อยละ 30.27 ซี่ต่อคน และในพืนที่ตำบลประกอบพบว่ามีฟันผุ อุด ถอนในระดับประเทศเทากับ 1.40 ซี่ต่อคน (สภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560 -2561 ) จากปัญหาดังกล่าวเนื่องจากนักเรียนขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดุแลสุขภาพช่องปากของตนเอง ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาทางทันตสุขภาพที่สำคัญ
การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพช่องปากการให้สุขศึกษา การให้บริการทันตกรรม การแปรงฟันที่ถูกวิธี และการติดตามประเมินผลทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลประกอบ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ขึ้น เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปาก และได้รับการดูแลทันตสุขภาพอย่างเหมาะสม
.
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก
- 2. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน
- 3. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำทุกวัน
- 4. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุในเด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การทาฟลูออไรด์วานิช และบริการทางทันตกรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
48
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีสภาวะทางทันตสุขภาพที่ดีขึ้น
- นักเรียนมีความเข้าใจและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
- นักเรียนมีทัศนคติและพฤติกรรมที่ดีต่อการดูแลสุขภาพช่องปาก
- นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- นัดเรียนสามารถแปรงฟันได้อย่างถุกต้องเหมาะสม
- นักเรียนสามารถลดความถี่ในการรับประทานอาหารได้
- นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแกนนำนักเรียนและนักเรียนทั่วไปมีระดับความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมด้านทันตสุขภาพเพิ่มขึ้นหลังจากเสร็จสิ้นโครงการ (มากกว่าหรือเท่ากับ 12 คะแนน จากคะแนนเต็ม 15 คะแนน)
80.00
2
2. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแกนนำนักเรียนและนักเรียนทั่่วไป มีค่า Plaque index เฉลี่ยลดลง (โดยใช้แบบบันทึกค่า Pi ของ Stallard et al.)
80.00
3
3. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำทุกวัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กนักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารเป็นประจำทุกวัน
80.00
4
4. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุในเด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การทาฟลูออไรด์วานิช และบริการทางทันตกรรม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กนักเรียนได้รับการเสีิมสร้างและบริการป้องกันโรคฟันผุ ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การทาฟลูออไรด์วานิช และการบริการทางทันตกรรม
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
48
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
48
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก (2) 2. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน (3) 3. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำทุกวัน (4) 4. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุในเด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การทาฟลูออไรด์วานิช และบริการทางทันตกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ปีงบ 64 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5202-(1)-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวณัฏฐณิชา เจ๊ะเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ปีงบ 64 ”
ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวณัฏฐณิชา เจ๊ะเลาะ
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5202-(1)-1 เลขที่ข้อตกลง 9/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ปีงบ 64 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ปีงบ 64
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ปีงบ 64 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5202-(1)-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,537.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประกอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันปัญหาด้านทันตสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญอย่างหนึ่งที่จะต้องได้รับการแก้ไข โดยเฉพาพโรคฟันผุจะพบมากในเด็กนักเรียนประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆ ที่ตรวจพบในกลุ่มเดียวกัน ปัญหาด้านทันตสุขภาพนั้นนอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพช่องปากของเด็กแล้ว ยังมีผลกระทบต่อการเรียน และพัฒนาการของเด็กนักเรียนประถมศึกษาในช่วงอายุ 6-12 ปี เป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ๆ ลักษณะรูปร่างฟันมีหลุมร่องลึกทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายหากขาดทั้งความรู้ในเรื่องโรคในช่องปาก ความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากและพฤติกรรมการดูแลช่องปากล้วนก่อให้เกิดแนวโน้มโรคฟันผุ และภาวะเหงือกอักเสบสูงขึ้น ตลอดจนมีข้อจำกัดในเรื่องความสามารถในการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง ล้วนเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคโรคในช่องปากได้ง่าย หากไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ที่ดีพอ โรคในช่องปากเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้และสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด้ก การฝึกฝนให้เด็กมีทันตสุขนิสัยที่ดีและการส่งเสริมและป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรคจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคในช่องปากของเด็กได้
จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 8 พ.ศ. 2560 พบว่า มีอัตราการเกิดโรคฟันผุสูง ทำให้มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่เจ้าหน้าที่ทางทันตสาธารณสุขทุกคนต้องร่วมมือในการแก้ปัญหา ซึ่งเด็กไทยในปัจจุบันส่วนใหญ่จะประสบปัญหาทางทันตสุขภาพ ดังนี้
1. ฟันผุเพิ่มขึ้น
2. แปรงฟันที่โรงเรียนลดลง
3. กินขนมมากขึ้นและกินอาหารที่มีเส้นใยลดลง
จากการสำรวจนักเรียนชั้นประถมศึกษา จำนวน 4 แห่ง ในพื้นที่ตำบลประกอบ พ.ศ. 2562 ก็ได้ประสบปัยหาดังกล่าวเช่นกัน โโยเฉพาพปัญหาโรคฟันผุ พบว่านักเรียนมีฟันแท้ผุ จำนวน 145 คน คิดเป็นร้อยละ 30.27 ซี่ต่อคน และในพืนที่ตำบลประกอบพบว่ามีฟันผุ อุด ถอนในระดับประเทศเทากับ 1.40 ซี่ต่อคน (สภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 8 ประเทศไทย พ.ศ. 2560 -2561 ) จากปัญหาดังกล่าวเนื่องจากนักเรียนขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดุแลสุขภาพช่องปากของตนเอง ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหาทางทันตสุขภาพที่สำคัญ
การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพช่องปากการให้สุขศึกษา การให้บริการทันตกรรม การแปรงฟันที่ถูกวิธี และการติดตามประเมินผลทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลประกอบ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ขึ้น เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปาก และได้รับการดูแลทันตสุขภาพอย่างเหมาะสม
.
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก
- 2. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน
- 3. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำทุกวัน
- 4. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุในเด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การทาฟลูออไรด์วานิช และบริการทางทันตกรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 48 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีสภาวะทางทันตสุขภาพที่ดีขึ้น
- นักเรียนมีความเข้าใจและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
- นักเรียนมีทัศนคติและพฤติกรรมที่ดีต่อการดูแลสุขภาพช่องปาก
- นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- นัดเรียนสามารถแปรงฟันได้อย่างถุกต้องเหมาะสม
- นักเรียนสามารถลดความถี่ในการรับประทานอาหารได้
- นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก ตัวชี้วัด : ร้อยละของแกนนำนักเรียนและนักเรียนทั่วไปมีระดับความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมด้านทันตสุขภาพเพิ่มขึ้นหลังจากเสร็จสิ้นโครงการ (มากกว่าหรือเท่ากับ 12 คะแนน จากคะแนนเต็ม 15 คะแนน) |
80.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน ตัวชี้วัด : ร้อยละของแกนนำนักเรียนและนักเรียนทั่่วไป มีค่า Plaque index เฉลี่ยลดลง (โดยใช้แบบบันทึกค่า Pi ของ Stallard et al.) |
80.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำทุกวัน ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กนักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารเป็นประจำทุกวัน |
80.00 |
|
||
4 | 4. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุในเด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การทาฟลูออไรด์วานิช และบริการทางทันตกรรม ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กนักเรียนได้รับการเสีิมสร้างและบริการป้องกันโรคฟันผุ ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การทาฟลูออไรด์วานิช และการบริการทางทันตกรรม |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 48 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 48 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก (2) 2. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันอย่างถูกวิธีและครอบคลุมทุกด้าน (3) 3. เพื่อให้นักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันเป็นประจำทุกวัน (4) 4. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพอนามัยช่องปากและบริการป้องกันโรคฟันผุในเด็ก ได้แก่ การตรวจสุขภาพช่องปาก การทาฟลูออไรด์วานิช และบริการทางทันตกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษา "เด็กประกอบฟันสวย ยิ้มใส ห่างไกลฟันผุ" ปีงบ 64 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L5202-(1)-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวณัฏฐณิชา เจ๊ะเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......