กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพตำบลบูกิต ประจำปี 2564 ”

จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นาง โนรไลลา โต๊ะเซ็ง

ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพตำบลบูกิต ประจำปี 2564

ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-l2479-2-17 เลขที่ข้อตกลง 23/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพตำบลบูกิต ประจำปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพตำบลบูกิต ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพตำบลบูกิต ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-l2479-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลักของคนประเทศไทย การปลูกพืชในสมัยก่อนจะใช้วิธีการปลูกพืชในดิน ซึ่งการปลูกพืชในดินก็เป็นวิธีที่นิยมปฏิบัติกันทั่วไป ทั้งนี้เพราะเป็นวิธีที่ง่าย ประหยัดค่าใช้จ่ายและไม่ต้องดูแลรักษาเป็นพิเศษ แต่ก็พบปัญหามากเช่นกัน ซึ่งได้แก่ ปัญหาสภาพอากาศ เช่น ในฤดูแล้ง พื้นดินจะแห้งและขาดความอุดมสมบูรณ์ ทำให้เป็นอุปสรรคในการเพาะปลูก เพราะการปลูกพืชวิธีนี้ใช้ดินเป็นองค์ประกอบหลัก ความเสี่ยงในผลผลิต สมัยก่อนการเพาะปลูกนั้นจะทำเพื่อบริโภคในครัวเรือน ส่วนที่เหลือก็นำไปแลกเปลี่ยนกับเครื่องอุปโภค บริโภคแทนการใช้เงินซื้อ การเพาะปลูกระบบนี้จึงเป็นการเพาะปลูกแบบพอเพียง จึงไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องศัตรูพืช แต่ปัจจุบันจุดประสงค์ของการปลูกเปลี่ยนมาเป็นเพื่อการค้า และใช้ระบบการปลูกแบบขยายวงกว้างซึ่งมีความยากลำบากในการป้องกันปัญหาจากศัตรูพืช ดังนั้นจึงมีการนำยาฆ่าแมลงเข้ามาใช้ เพื่อให้ผลผลิตที่ได้มีความสวยงาม และเมื่อนำออกสู่ตลาดจะขายได้ราคาดี แต่การทำเช่นนี้ส่งผลเสียต่อสุขภาพของผู้บริโภคเป็นอย่างมาก เพราะเมื่อรับประทานเข้าไปเป็นเวลานาน สารพิษเหล่านี้ก็จะสะสมและตกค้างอยูในร่างกาย ข้อจำกัดของสถานที่ ขึ้นชื่อว่าการปลูกพืชในดินก็จะต้องปลูกในสถานที่ที่เป็นดิน ทำให้ผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่จำกัด เช่น แฟลต หรือ อาคารชุด ไม่สามารถเพาะปลูกได้ จากปัญหาข้างต้นนี้ทำให้มีผู้นำวิธีการปลูกพืชแบบใหม่เข้ามาใช้เพื่อลดปัญหาข้างต้น ซึ่งวิธีการที่ว่านี้ก็คือ “การปลูกพืชแบบไร้ดิน (Soilless Culture)” ไฮโดรโปนิกส์ มีประโยชน์หลักๆ 2 ประการด้วยกัน ประการแรกคือช่วยให้มีสิ่งแวดล้อมที่ควบคุมได้มากขึ้นสำหรับการเติบโตของพืชแทนที่จะเป็นการใช้ดินอย่างเดิม ทำให้กำจัดตัวแปรที่ไม่ทราบออกไปจากการทดลองได้จำนวนมากประการที่สองก็คือ พืชหลายชนิดจะให้ผลผลิตได้มากในเวลาที่น้อยกว่าเดิม และในบางครั้งก็มีคุณภาพที่ดีกว่าเดิมด้วย ซึ่งในสภาพแวดล้อมและสภาพการเศรษฐศาสตร์หนึ่งๆการปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์จะให้ผลกำไรแก่เกษตรกรมากขึ้น และด้วยการปลูกที่ไม่ใช้ดินจึงทำให้พืชไม่มีโรคที่เกิดในดิน ไม่มีวัชพืช ไม่ต้องจัดการดินและยังสามารถปลูกพืชใกล้กันมากได้ด้วยเหตุนี้พืชจึงให้ผลผลิตในปริมาณที่มากกว่าเดิมขณะที่ใช้พื้นที่จำกัด นอกจากนี้ยังมีการใช้น้ำน้อยมากเพราะมีการใช้ภาชนะ หรือระบบวนน้ำแบบปิดเพื่อหมุนเวียนน้ำเมื่อเทียบกับการเกษตรแบบเดิมแล้ว นับว่าใช้น้ำเพียงส่วนน้อยนิดเท่านั้น ด้วยคุณภาพที่กล่าวมาข้างต้นทำให้ไฮโดรโปนิกส์มีประโยชน์กับการปลูกพืชที่ไม่ใช่วิธีการแบบเดิมๆ นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ได้เสนอมานานแล้ว ผู้จัดทำโครงการเห็นว่าการปลูกผักแบบไร้ดิน เป็นนวัตกรรมใหม่ที่จะทำให้การเกษตรของบ้านเราสามารถก้าวไกลไปได้อีก อีกทั้งยังสามรถทำได้โดยไม่ต้องมีพื้นที่ที่กว้างขวางมากนัก และเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของผู้สนใจที่จะทำการเกษตรในแนวนี้ ทั้งเป็นการช่วยเหลือผู้ บริโภคในอีกทางหนึ่งด้วย เพราะในปัจจุบัน ผักไฮโดรโปนิกส์เป็นพืชผักที่ปลูกง่ายในด้านผักสลัดและเป็นการปลูกผักที่ประหยัดพื้นที่ ผักไฮโดรโปนิกส์ประเภทผักสลัดนั้นมีประโยชน์มากมายสามารถบริโภคได้ตั้งแต่ เด็กยันผู้สูงอายุ สามารถทานได้เพื่อสุขภาพและเพื่อการบริโภคต่างๆ การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย เป็นนวัตกรรมการปลูกผักแบบใหม่ที่เป็นที่น่าสนใจในยุคปัจจุบันและคิดว่าในอนาคตนี้จะเป็นที่นิยมกันมากในสังคม ผู้บริโภคส่วนใหญ่หันมาให้ความสำคัญกับการรับประทานพืชผักที่ปลอดสารพิษกันมาขึ้น อีกทั้งยังเป็นการลดปัญหาสิ่งแวดล้อมและปัญหาต่อสุขภาพต่อเกษตรกรและผู้บริโภคด้วยด้วยเหตุนี้จึงได้จัดทำโครงการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพตำบลบูกิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับการปลูกพืชไร้ดิน
  2. เพื่อลดปัญหาเกี่ยวกับข้อจำกัดในการทำเกษตร เช่น การไม่มีพื้นที่ทำกิน ความแห้งสภาพดินไม่สมบูรณ์
  3. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาลดการใช้สารเคมี และ ยาปรับศัตรูพืชซึ่งจะส่งผลดีต่อผู้บริโภคพืชผัก ที่ปลอดสารพิษ
  4. เพื่อเสริมทักษะการเรียนรู้เพื่อจะได้นำไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพในอนาคต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์รับสมัครประชาชนเข้าร่วมโครงการ
  2. จัดอบรมประชาชนเข้าร่วมโครงการ
  3. จัดทำแปลงปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ
  4. ติดตามการปลูกผัก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้และได้รู้จักการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ 2.ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษรับประทานเองในครัวเรือน 3.ประชาชนประหยัดพื้นที่ในการเพาะปลูกสำหรับผู้ที่มีพื้นที่น้อย 4.เกษตรกรและผู้บริโภคสามารถลดปริมาณสารเคมีตกค้างในผัก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับการปลูกพืชไร้ดิน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชไร้ดิน
0.00

 

2 เพื่อลดปัญหาเกี่ยวกับข้อจำกัดในการทำเกษตร เช่น การไม่มีพื้นที่ทำกิน ความแห้งสภาพดินไม่สมบูรณ์
ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถปลูกพืชได้แม้ไม่มีพื้นที่ทำกิน หรือ สภาพดินไม่สมบูรณ์
0.00

 

3 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาลดการใช้สารเคมี และ ยาปรับศัตรูพืชซึ่งจะส่งผลดีต่อผู้บริโภคพืชผัก ที่ปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนไม่นิยมใช้สารเคมี และ ยาปรับศัตรูพืช และคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภคพืชผักส่วนครัว
0.00

 

4 เพื่อเสริมทักษะการเรียนรู้เพื่อจะได้นำไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพในอนาคต
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนมีความรู้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับการปลูกพืชไร้ดิน (2) เพื่อลดปัญหาเกี่ยวกับข้อจำกัดในการทำเกษตร เช่น การไม่มีพื้นที่ทำกิน ความแห้งสภาพดินไม่สมบูรณ์ (3) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาลดการใช้สารเคมี และ ยาปรับศัตรูพืชซึ่งจะส่งผลดีต่อผู้บริโภคพืชผัก ที่ปลอดสารพิษ (4) เพื่อเสริมทักษะการเรียนรู้เพื่อจะได้นำไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพในอนาคต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์รับสมัครประชาชนเข้าร่วมโครงการ (2) จัดอบรมประชาชนเข้าร่วมโครงการ (3) จัดทำแปลงปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ (4) ติดตามการปลูกผัก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์เพื่อสุขภาพตำบลบูกิต ประจำปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-l2479-2-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาง โนรไลลา โต๊ะเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด