กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง


“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ”

ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุนิสา ยี่สุ่นทรง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4131-1-19 เลขที่ข้อตกลง .............

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4131-1-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ที่เริ่มการระบาดเมื่อวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๓ ณสาธารณรัฐประชาชนจีนมีสาเหตุจากไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (novel coronavirus 2019, 2019-nCoV)และพบการแพร่เชื้อจากคนสู่คนได้ วันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๓โดยมีอัตราความรุนแรงของโรคถึงขั้นเสียชีวิตค่อนข้างสูง และมีแนวโน้มการระบาดต่อเนื่องซึ่งเมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๖๓ได้มีการระบาดระลอกใหม่ในประเทศไทยสถานการณ์ปัจจุบันมีผู้ป่วยในประเทศสะสมจำนวน ๑๒,๗๙๕ ราย รายใหม่ ๑๔๒ เสียชีวิต ๗๑ ราย (ข้อมูล ณ วันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๖๔) รัฐบาลไทยได้มีมาตรการในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค โดยให้ทุกจังหวัดโดยเฉพาะหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการ เป็นไปตามหนังสือกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๖๒๔ (บกปภ)/ว ๑๖ลงวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๖๓ เรื่องเตรียมความพร้อมป้องกันกรณีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และจังหวัดยะลาได้สั่งการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการ ตามหนังสือจังหวัดยะลา ด่วนที่สุด ที่ ยล ๐๐๑๘.๑/ว ๑๖๐ลงวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๖๔ เรื่อง มาตรการในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) (ระลอกใหม่) ในพื้นที่จังหวัดยะลา เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวงซึ่งเป็นอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ และแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๑๔ พ.ศ.๒๕๖๒ในการป้องกันและระงับโรคติดต่อ และเป็นไปตามหนังสือสั่งการจังหวัดยะลา ดังนั้น เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง จึงจัดทำโครงการ “เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)”ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค และสร้างความตระหนักการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) แก่นักเรียนและบุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่
  2. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในเขตพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง
  3. เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง
  2. กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 250
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ผู้ปกครอง ครูผู้สอน และประชาชนมีความเข้าใจ และตระหนักถึงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  • มีระบบการคัดกรองเบื้องต้น คือ มีเครื่องมือตรวจวัดอุณหภูมิและหน้ากากผ้าให้กับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่
  • เกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง

วันที่ 1 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์/น้ำยา/วัสดุ สำหรับใช้ในกิจกรรมต่างๆ เช่นการพ่นยาฆ่าเชื้อบริเวณต่างๆ ในเขตพื้นที่องคฺการบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง กรณีเกิดเหตุสงสัย หรือเกิดการระบาด หรือได้รับการร้องขอตามความเหมาะสมและความจำเป็น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้สร้างความมั่นใจให้กับผู้มาใช้บริการได้อย่างมาก และลดความกังวลของผู้มาใช้บริการ 2.ผู้มารับบริการได้ใช้อุปกรณ์และสร้างความปลอดภัยให้กับทุกคนที่มาใช้บริกาาร

 

0 0

2. กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

วันที่ 1 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ให้แก่ผู้ปกครองเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ -การจัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์/วัสดุในการป้องกันโรค ให้กับครู และนักเรียน ศพด. -ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใน ศพด. โดยคณะครู รวมถึงผู้มาติดต่อราชการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. บุคลากรและนักเรียนได้รับอุปกรณ์และวัสดุทางการแพทย์ที่มีคุณภาพในการนำไปใช้ในการป้องกันได้ตลอด
  2. บุคลากรและนักเรียนมีความรู้ ความตระหนักในการป้องกันตัวเองมากขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค และสร้างความตระหนักการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) แก่นักเรียนและบุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก ได้รับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
85.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในเขตพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนในพื้นที่ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค และมีความตระหนักในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
85.00

 

3 เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานมีความปลอดภัย
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 250
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค และสร้างความตระหนักการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) แก่นักเรียนและบุคลากรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ (2) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในเขตพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง (3) เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง (2) กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3) กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4131-1-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุนิสา ยี่สุ่นทรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด