กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการการจัดการสุขภาพโดยการอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการการจัดการสุขภาพโดยการอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางจินดาพร แซ่เฉีย

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการสุขภาพโดยการอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs)

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7252-01-08 เลขที่ข้อตกลง 8/64

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2564 ถึง 29 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการสุขภาพโดยการอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการสุขภาพโดยการอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการสุขภาพโดยการอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7252-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2564 - 29 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มโรค NCDs (Non-Communicable diseases) หรือ ชื่อภาษาไทยเรียกว่า กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นชื่อเรียกกลุ่มโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค ไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการสัมผัส คลุกคลี หรือ ติดต่อ ผ่านตัวนำโรค (พาหะ) หรือสารคัดหลั่งต่างๆ หากแต่เกิดจากปัจจัยต่างๆ ภายในร่างกาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากวิธีการใช้ชีวิตที่มีพฤติกรรมเสี่ยงอย่าง เหล้า บุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารหวานมันเค็มจัด และมีความเครียด โรคไม่ติดต่อเรื้อรังมักจะค่อยๆ มีอาการและรุนแรงขึ้นทีละน้อยหากไม่ได้มีการรักษาควบคุมและป้องกัน องค์การอนามัยโลก (WHO) เล็งเห็นว่ากลุ่มโรค NCDs นั้น ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ มีอัตราผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตสูงสุด 6 โรค ได้แก่โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ (Cardiovascular & Cerebrovascular Diseases ) โรคถุงลมโป่งพอง (Emphysema) โรคมะเร็ง (Cancer) โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) และโรคอ้วนลงพุง (Obesity) แม้ค่าสถิติการป่วยและเสียชีวิตจากกลุ่มโรค NCDs จะสูงมาก แต่กลุ่มโรค NCDs นั้นสามารถป้องกันได้ เพราะสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงหลักที่ทำให้กิดโรคนั้น เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพ ซึ่งนอกจากการจัดบริการที่มีคุณภาพเพื่อให้บริการทางคลินิกในผู้ป่วยกลุ่มนี้แล้ว การส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันและควบคุมโรค โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน จะช่วยลดปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคได้เช่น ความอ้วน ความเครียด การออกกำลังกาย และพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม รวมถึงการดื่มสุรา สูบบุหรี่ หากประชาชนไม่สามารถควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีปัจจัยเสริมจากอายุที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มวัยทำงานที่มีอายุตั้งแต่ ๓๕ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคดังกล่าวข้างต้น และในกลุ่มผู้ป่วยหากมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น
จากข้อมูลจากการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในกลุ่มวัยทำงาน ของศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองสะเดา ปี ๒๕๖๒ พบว่า มีผู้ที่เสี่ยงต่อโรคเบาหวานจำนวน ๔๑๕ คน เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง ๒๔๖ คน และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมารับการรักษาที่คลินิกโรคเรื้อรัง จำนวน ๑๕๐ คน ทางศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองสะเดา เล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและลดความเสี่ยงของการเกิดโรคดังกล่าว จึงจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริม กระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมาย ตระหนัก และรับรู้ถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้นและไม่เกิดภาวะแรกซ้อน เป็นบุคคลที่มีสุขภาพดีและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจำวัน
  2. เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายจากโรคที่เป็นอยู่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจำวัน 2.ผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่เป็นอยู่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจำวัน
    ตัวชี้วัด : ให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจำวัน
    100.00

     

    2 เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายจากโรคที่เป็นอยู่
    ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรค NCDs คิดเป็นร้อยละ ๗๐ 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากกลุ่มโรค NCDs
    100.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ ที่ถูกต้องในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชีวิตประจำวัน (2) เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายจากโรคที่เป็นอยู่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการการจัดการสุขภาพโดยการอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L7252-01-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจินดาพร แซ่เฉีย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด