กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง


“ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอใส่ใจการเล่นและการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้าง EQ ในเด็กปฐมวัย ”

ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอามีเน๊าะ มิหิ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอใส่ใจการเล่นและการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้าง EQ ในเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4131-3-02 เลขที่ข้อตกลง ............

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอใส่ใจการเล่นและการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้าง EQ ในเด็กปฐมวัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอใส่ใจการเล่นและการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้าง EQ ในเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอใส่ใจการเล่นและการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้าง EQ ในเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4131-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,710.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีความสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ จึงสมควรที่จะได้รับการดูแลปกป้องและพัฒนาให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ อารมณ์ และสติปัญญา มิติทางด้านอารมณ์หรือความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญยิ่งที่พ่อแม่ผู้ปกครอง ครูหรือผู้ดูแลเด็ก ควรให้ความสำคัญในการพัฒนาและสร้างเสริมให้ดียิ่งขึ้น เพราะถือเป็นรากฐานของชีวิต ที่จะทำให้เด็กในวันนี้ได้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ ประสบความสำเร็จในการเรียนและการทำงาน รวมทั้งการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขสถาบันหลักในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก ได้แก่ ครอบครัว และบุคคลสำคัญที่จะสร้างความฉลาดทางอารมณ์ให้แก่ลูก คือ พ่อแม่ ด้วยวิธีการเลี้ยงดูที่เหมาะสมและการเป็นแบบอย่างที่ดี แต่พ่อแม่และผู้ปกครองจำนวนมาก ขาดความรู้และทักษะในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์แก่ลูก หรือมีความเชื่อความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องในการเลี้ยงดูลูก ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นอุปสรรคในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์แก่ลูกการออกกำลังกายและการเล่นเป็นการเตรียมร่างกายและสมองให้ตื่นตัวพร้อมรับการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ยิ่งถ้าเด็กได้เล่นรวมกับเด็กคนอื่น ๆ ก็จะยิ่งช่วยพัฒนาทักษะทางสังคมให้กับเขามากยิ่งขึ้น โดยมีงานวิจัยทางด้านสมองและประสาทวิทยาอธิบายเปรียบเทียบระหว่างเด็กเก็บตัวไม่ยอมเข้าสังคมหรือออกกำลังกาย จะมีการสร้างเส้นใยสมองอารมณ์รุนแรงก้าวร้าว ในขณะที่เด็กมีทักษะทางสังคมที่ดี จะมีการสร้างเส้นใยสมองส่วนที่เป็นทักษะสังคมแบบร่วมมือกันและเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ยิ่งถ้าเด็กมีทักษะในการเล่นที่ดี ก็จะมีแนวโน้มประสบความสำเร็จในการเรียนมากกว่า เพราะการเล่นจะช่วยพัฒนาทักษะการคิด การจดจำ แก้ปัญหา รวมถึงทักษะการเข้าสังคม และการทำงานแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้อื่นอีกด้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอจึงได้จัดทำโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอใส่ใจการเล่นและการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างEQในเด็กปฐมวัย)ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยทุกคน ส่งเสริมสุขภาพโดยการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและมีอารมณ์แจ่มใส ตามวัย ทั้งนี้จะต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย เช่น ครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมถึงหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จตามเป้าหมาย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการแห่งวัยและเกณฑ์มาตรฐานDSPM
  2. เพื่อส่งเสริมพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ตามพัฒนาการที่เหมาะสมแห่งวัย
  3. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องความสำคัญในการเสริมสร้างEQในเด็กปฐมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอใส่ใจการเล่นและการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างEQในเด็กปฐมวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 76
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการแห่งวัยและเกณฑ์มาตรฐานDSPM
  • เด็กได้รับการส่งเสริมพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ตามพัฒนาการที่เหมาะสมแห่งวัย
  • ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องความสำคัญในการเสริมสร้างEQในเด็กปฐมวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอใส่ใจการเล่นและการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างEQในเด็กปฐมวัย

วันที่ 5 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-บรรยายให้ความรู้เรื่องกิจกรรมบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมงานในหัวข้อ "การเล่นและการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้าง EQ ในเด็กปฐมวัย -กิจกรรม "เด็กปฐมวัยเต้นแอโรบิค" พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ตามพัฒนาการที่เหมาะสมแห่งวัย -กิจกรรมการตรวจพัฒนาการแห่งวัยและเกณฑ์มาตรฐาน DSPM -ตอบข้อซักถาม และปิดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการแห่งวัยและเกณฑ์มาตรฐาน DSMP 2.เด็กได้รับการส่งเสริมพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ตามพัฒนาการที่เหมาะสมแห่งวัย 3.ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องความสำคัญในการเสริมสร้าง EQ ในเด็กปฐมวัย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการแห่งวัยและเกณฑ์มาตรฐานDSPM
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจพัฒนาการแห่งวัยและเกณฑ์มาตรฐานDSPM
76.00 76.00

 

2 เพื่อส่งเสริมพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ตามพัฒนาการที่เหมาะสมแห่งวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กที่ได้รับการส่งเสริมพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ตามพัฒนาการที่เหมาะสมแห่งวัย
100.00 100.00

 

3 เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องความสำคัญในการเสริมสร้างEQในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองมีความรู้เรื่องความสำคัญในการเสริมสร้างEQในเด็กปฐมวัย
90.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 76 76
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 76 76
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กได้รับการตรวจพัฒนาการแห่งวัยและเกณฑ์มาตรฐานDSPM (2) เพื่อส่งเสริมพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ตามพัฒนาการที่เหมาะสมแห่งวัย (3) เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเรื่องความสำคัญในการเสริมสร้างEQในเด็กปฐมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอใส่ใจการเล่นและการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างEQในเด็กปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนากอใส่ใจการเล่นและการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้าง EQ ในเด็กปฐมวัย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4131-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอามีเน๊าะ มิหิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด