กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ


“ โครงการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน ตำบลตะปอเยาะ ปี 2564 ”

จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางฮามีดะห์ ตวันตีมุง

ชื่อโครงการ โครงการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน ตำบลตะปอเยาะ ปี 2564

ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2497-1-3 เลขที่ข้อตกลง 11/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 สิงหาคม 2564 ถึง 6 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน ตำบลตะปอเยาะ ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน ตำบลตะปอเยาะ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน ตำบลตะปอเยาะ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2497-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 สิงหาคม 2564 - 6 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พื้นที่ตำบลตะปอเยาะ มีจำนวนบ้านในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบทั้งหมด 2,134 หลังคาเรือน จำนวนประชากรทั้งหมด 9,531 คน มีผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ต้องมีผู้ดูแลจำนวน 50 คน ซึ่งผู้ดูแลประจำส่วนใหญ่ไม่ได้รับการฝึกทักษะในการดูแลที่ถูกต้อง ผู้ป่วยบางราย ไม่มีผู้ดูแลอยู่ประจำบางครั้งถูกทอดทิ้งอยู่ตามลำพังจึงทำให้ผู้พิการและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย เช่น กล้ามเนื้อลีบ การเกิดข้อติด แผลกดทับ เป็นต้น

จากสภาพปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาล/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลตะปอเยาะ เห็นความสำคัญ จึงจัดให้มีการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชน เพื่อให้ผู้พิการและผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวเข้าถึงบริการ ได้รับการดูแลต่อเนื่องจนสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในระดับหนึ่ง หรือในบางรายอาจจะสามารถกลับมาดำเนินชีวิตประกอบอาชีพโดยตนเองได้ตามศักยภาพในที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง สามารถทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองได้
  2. เพื่อให้ผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องโดยผู้ดูแลที่เป็นสมาชิกของครอบครัว/ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมการพัฒนาทักษะของญาติ ผู้ดแลเกี่ยวกับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้พิการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีระบบบริการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงในชุมชนที่สามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
  2. ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการดูแลที่ไม่ถูกต้องหรือไม่ได้รับการดูแล
  3. ลดการครองเตียงในโรงพยาบาล
  4. ลดภาระ/ค่าใช้จ่ายให้กับครอบครัว

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมการพัฒนาทักษะของญาติ ผู้ดแลเกี่ยวกับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้พิการ

วันที่ 19 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้องฯ -สำรวจข้อมูลสภาพปัญหาความต้องการของผู้พิการด้านการเคลื่อนไหว
-รับสมัครสมาชิกครอบครัวกลุ่มเป้าหมายหรือจิตอาสาในชุมชนที่เป็นผู้ดูแล -ทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ -จัดอบรมฝึกทักษะผู้ดูแลเกี่ยวกับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้พิการ จำนวน 50 คน 2 วัน -จัดทำแผนการดูแล/ฟื้นฟูฯ กลุ่มเป้าหมายรายบุคคลร่วมกับนักกายภาพบำบัดและผู้ดูแล
-จัดหากายอุปกรณ์ในการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายสำหรับผู้พิการด้านการเคลื่อนไหว จำนวน 50 ชุด -ประสานนักกายภาพบำบัดจาก รพ.ยี่งอ เยี่ยมประเมิน/ให้การดูแลช่วยเหลือและจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ร่วมกับผู้ดูแล -ติดตาม ประเมินผลทักษะของดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชนของญาติหรือผู้ดูแล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-จากการดำเนินงานประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน(ADL)ของกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน พบว่าผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดเตียงสามารถทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง เพิ่มขึ้น จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 85
- จากการติดตามเยี่ยมบ้านผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดเตียง ได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพจากผู้ดูแลซึ่งเป็นสมาชิกของครอบครัวทุกคน ร้อยละ 100
- ผู้พิการได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพ สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเองจากการประเมิน ADLร้อยละ 100
- ผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดเตียงได้รับการดูแลจากครอบครัวทุกคน และไม่พบภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 100 และไม่พบผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดเตียงการครองเตียงในโรงพยาบาลจากภาวะแทรกซ้อน
- ไม่พบผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดเตียง มีอาการเจ็บป่วยที่รุนแรง ไม่เป็นภาระค่าใช้จ่ายให้กับครอบครัว

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง สามารถทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองได้
ตัวชี้วัด : 1.5 ร้อยละของผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงที่ได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพสามารถทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองได้เพิ่มขึ้น
50.00 80.00

 

2 เพื่อให้ผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องโดยผู้ดูแลที่เป็นสมาชิกของครอบครัว/ชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.4 ร้อยละของผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงเทศบาล/ตำบลตำบลตะปอเยาะ ได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพเพิ่มขึ้น
60.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง สามารถทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองได้ (2) เพื่อให้ผู้พิการด้านการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องโดยผู้ดูแลที่เป็นสมาชิกของครอบครัว/ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมการพัฒนาทักษะของญาติ ผู้ดแลเกี่ยวกับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้พิการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน ตำบลตะปอเยาะ ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2497-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮามีดะห์ ตวันตีมุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด