กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสำรวจความเสี่ยงของเกษตรกร ตำบลโคกงาม จากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ประจำปี ๒๕๖๓ ”
ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ โครงการสำรวจความเสี่ยงของเกษตรกร ตำบลโคกงาม จากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ประจำปี ๒๕๖๓

ที่อยู่ ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย จังหวัด เลย

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 สิงหาคม 2563 ถึง 24 สิงหาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสำรวจความเสี่ยงของเกษตรกร ตำบลโคกงาม จากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ประจำปี ๒๕๖๓ จังหวัดเลย" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสำรวจความเสี่ยงของเกษตรกร ตำบลโคกงาม จากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ประจำปี ๒๕๖๓



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสำรวจความเสี่ยงของเกษตรกร ตำบลโคกงาม จากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ประจำปี ๒๕๖๓ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 สิงหาคม 2563 - 24 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,370.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกงาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การใช้สารเคมีในเกษตรกร ในการกำจัดศัตรูพืช ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพประชาชน โดยเฉพาะเกษตรกรที่ ทำเกษตรปริมาณมาก จำเป็นต้องอาศัยสารมีในการช่วยให้ทำการเกษตรได้ง่ายขึ้น โดยพบว่าสารเคมีที่เกษตรกรใช้ปริมาณมาก คือ สารพาราควอต สารไกลโฟเสต ในการฆ่าหญ้า และสารกลุ่มยาฆ่าแมลง ได้แก่สารออร์กาโนฟอตเฟต และสารไพรีทอย โดยพบมากในพื้นที่อำเภอด่านซ้าย สารต่างๆเหล่านี้จะเข้าไปทำลายอวัยะสำคัญภายในร่างกายในลักษณะ การสะสม โดยทำลายอวัยวะเช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ซึ่งขึ้นออยู่กับการสัมผัสสารเคมีในส่วนใดของร่างกาย จนเมื่อร่างการสะสมสารเคมีไว้จนเกินขีดจำกัดที่ร่างกายไม่สามารถทนได้จึงจะก่อเกิดเป็นโรครุนแรง เช่น มะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ และโรคระบบภูมิคุ้มกันต่างๆ เป็นต้น ตำบลโคกงาม เป็นตำบลหนึ่งที่มีการทำเกษตรในลักษณะพื้นที่กว้างและทำเกษตรปริมาณมาก โดยเฉพาะการปลูกข้าวโพด มันสำปะหลัง การปลูกยางพารา บางพื้นที่มีการปลูกพืชผัก ที่ต้องใช้ยาฆ่าแมลงจำนวนมาก จากการใช้สารเคมีในการควบคุม และกำจัดศัตรูพืชจึงกระจาย และขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่รุนแรงดังนั้น ด้วยสภาพต่างๆทำให้ชุมชน ตำบลโคกงาม ยังมีความเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมีจำนวนมาก และหากมีการใช้สารเคมีที่ไม่ถูกต้อง หรือใช้อย่างไม่ถูกวิธี ก็จะทำให้มีการปนเปื้อนสารเคมี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกงาม ตำบลโคกงาม อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจึงได้จัดทำโครงการสำรวจความเสี่ยงของเกษตรกรจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ปี ๒๕๖๓ ขึ้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพเกษตรกรได้รับการเจาะเลือดเพื่อดูปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใด เพื่อสร้างความตระหนักแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลโคกงาม ในการลดใช้สารเคมีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพเกษตรกรในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ๒. เพื่อสร้างความตระหนักแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลโคกงาม ในการลดใช้สารเคมี
  2. เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑. จัดทำโครงการ เพื่อเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นตำบลโคกงามอนุมัติ ๒. ประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมการและวางแผนการดำเนินโครงการตรวจหาสารเคมีกำจัด ศัตรูพืชตกค้าง ๓. เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ในการตรวจเลือด โดยใช้กระดาษทดสอบเ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพเกษตรกรในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ๒. เพื่อสร้างความตระหนักแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลโคกงาม ในการลดใช้สารเคมี
ตัวชี้วัด : ๑. ประชาชน ตำบลโคกงาม ที่ประกอบอาชีพเกษตรกร ได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างร้อยละ ๘๐
80.00

 

2 เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย
ตัวชี้วัด : จำนวนของเกษตรกรที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)
20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพเกษตรกรในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช  ๒. เพื่อสร้างความตระหนักแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลโคกงาม ในการลดใช้สารเคมี (2) เพื่อลดปัญหาเกษตรกรมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. จัดทำโครงการ เพื่อเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นตำบลโคกงามอนุมัติ  ๒. ประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมการและวางแผนการดำเนินโครงการตรวจหาสารเคมีกำจัด        ศัตรูพืชตกค้าง    ๓. เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ในการตรวจเลือด โดยใช้กระดาษทดสอบเ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสำรวจความเสี่ยงของเกษตรกร ตำบลโคกงาม จากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ประจำปี ๒๕๖๓ จังหวัด เลย

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด