โครงการ หนูน้อยสมาร์ทคิดส์ บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ หนูน้อยสมาร์ทคิดส์ บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาซูรา อาแวตาเยะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ
พฤษภาคม 2564
ชื่อโครงการ โครงการ หนูน้อยสมาร์ทคิดส์ บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ 2564
ที่อยู่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2997-1-02 เลขที่ข้อตกลง 006
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มีนาคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ หนูน้อยสมาร์ทคิดส์ บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ หนูน้อยสมาร์ทคิดส์ บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ หนูน้อยสมาร์ทคิดส์ บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L2997-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มีนาคม 2564 - 31 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,475.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปีงบประมาณ 2560 ทางสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ได้ริเริ่มดำเนินโครงการปัตตานี สมาร์ทคิดส์ (pattani smart kids) โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การเพิ่มความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา การคิด การใช้เหตุผล การคำนวณ การเชื่อมโยง (Intelligence Quotient, IQ) และพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Quotient, EQ) เพื่อให้เด็กปัตตานีรอบรู้ รอบคิด สามารถตัดสินใจเท่าทันเด็กสมัยใหม่ และเด็กที่อยู่ในเมืองได้ โดยได้คิดรูปแบบการดำเนินกิจกรรมครอบคลุมงาน 4 ด้าน คือ 1. ด้านการได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามเกณฑ์ 2. ด้านการมีสุขภาพดี สูงดี สมส่วน สมวัย 3. ด้านการมีพัฒนาการสมวัย 4. ด้านสุขภาพช่องปากดี ฟันไม่ผุ ดำเนินกิจกรรมดังกล่าวตั้งแต่เด็กแรกเกิด จนกระทั่งเด็กมีอายุครบ 5 ปี ซึ่งเด็กจะสามารถใช้ความคิด วิเคราะห์ได้ และการดำเนินงานในอนาคตจะผนวกเข้ากับหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล เป็นต้น หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ในปีงบประมาณ 2560 ทางสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ได้ริเริ่มดำเนินโครงการปัตตานี สมาร์ทคิดส์ (pattani smart kids) โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การเพิ่มความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา การคิด การใช้เหตุผล การคำนวณ การเชื่อมโยง (Intelligence Quotient, IQ) และพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Quotient, EQ) เพื่อให้เด็กปัตตานีรอบรู้ รอบคิด สามารถตัดสินใจเท่าทันเด็กสมัยใหม่ และเด็กที่อยู่ในเมืองได้ โดยได้คิดรูปแบบการดำเนินกิจกรรมครอบคลุมงาน 4 ด้าน คือ 1. ด้านการได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามเกณฑ์ 2. ด้านการมีสุขภาพดี สูงดี สมส่วน สมวัย 3. ด้านการมีพัฒนาการสมวัย 4. ด้านสุขภาพช่องปากดี ฟันไม่ผุ ดำเนินกิจกรรมดังกล่าวตั้งแต่เด็กแรกเกิด จนกระทั่งเด็กมีอายุครบ 5 ปี ซึ่งเด็กจะสามารถใช้ความคิด วิเคราะห์ได้ และการดำเนินงานในอนาคตจะผนวกเข้ากับหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล เป็นต้น
ในส่วนของสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับงานสาธารณสุข จำเป็นที่จะต้องพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองเด็ก บิดา มารดา และผู้เลี้ยงดูเด็กหลัก ให้สามารถดูแลเด็กให้มีพัฒนาการสมวัย สมบูรณ์ สูงดีสมส่วน แข็งแรง ได้รับวัคซีนครบ ฟันไม่ผุ และพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำหมู่บ้านที่เป็นตัวกลางสื่อสารและเป็นแหล่งข้อมูลเรื่องสุขภาพหลักของชุมชน ให้สามารถสอดส่อง ดูแล เผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นพี่เลี้ยงในการดูแลสุขภาพเด็กในพื้นที่รับผิดชอบของตนได้
จากรายงานเด็กอายุครบ 5 ปีที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ในปีงบประมาณ 2561-2563 จังหวัดปัตตานี มีอัตราร้อยละ ๔7.๘๗, ๔3.๔๗, ๔๔.๒1 ตามลำดับ อำเภอปะนาเระ มีอัตราร้อยละ 55.๐๑, 37.๐๖, 4๑.๑๑ ตามลำดับ และในตำบลบ้านบ้านน้ำบ่อ มีอัตราร้อยละ ๗6.๓๒, ๖๒.๐๓, ๓๘.๖๗ ตามลำดับ รายงานเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยในปีงบประมาณ 25๖๑-256๓ จังหวัดปัตตานี มีอัตราร้อยละ ๙๗.๘๑, 97.๖๗, 9๖.8๐ ตามลำดับ อำเภอปะนาเระ มีอัตราร้อยละ 9๗.๔๗, 9๖.๙๖, 9๖.๒3 ตามลำดับ และในตำบลบ้านบ้านน้ำบ่อ มีอัตราร้อยละ 9๗.๗๕, 9๙.๑8, 9๘.๗๘ ตามลำดับ
รายงานเด็กอายุ 0-5 ปี มีสุขภาพดี สูงดี สมส่วน ในปีงบประมาณ 25๖๑-256๓ จังหวัดปัตตานี มีอัตราร้อยละ ๕๐.๖6, ๖2.๙๐, ๖5.๕๗ ตามลำดับ อำเภอปะนาเระ มีอัตราร้อยละ ๕๗.๕๑, ๕๘.0๖, ๖๘.๔๔ ตามลำดับ และในตำบลบ้านบ้านน้ำบ่อ มีอัตราร้อยละ 3๔.๗5,๕๔.๔๓, ๖๒.๒1 ตามลำดับ
รายงานเด็กอายุ 3 ปี มีฟันผุในฟันน้ำนม ในปีงบประมาณ 25๖๑-256๓ จังหวัดปัตตานี มีอัตราร้อยละ 53.๓๗,4๕.๗๙, 3๔.๖7 ตามลำดับ อำเภอปะนาเระ มีอัตราร้อยละ ๔๗.๑๕, ๓๕.๓๓, ๒๖.๙๕ ตามลำดับ และในตำบลบ้านน้ำบ่อ มีอัตราร้อยละ 6๓.6๔, ๖๖.67, 5๒.๖๓ ตามลำดับ
จากข้อมูลข้างต้นที่ครอบคลุมกิจกรรมทั้ง 4 ด้าน จะเห็นได้ว่า เด็กในตำบลบ้านน้ำบ่อมีปัญหา เรื่องพัฒนาการล่าช้า เรื่องน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ไม่สมส่วน มีฟันผุ และเรื่องการไม่รับวัคซีน ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการดูแล ส่งเสริม ป้องกันในเรื่องดังกล่าว ทั้งนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำบ่อ จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยสมาร์ทคิดส์บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ และดำเนินกิจกรรมสอดคล้องกับนโยบายสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี เพิ่มการมีส่วนร่วมของชุมชน และเพิ่มศักยภาพของทีมอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน และผู้ปกครอง เพื่อให้เด็กในตำบลบ้านน้ำบ่อ มีสุขภาพดี แข็งแรง ไม่เป็นโรคหรือเสียชีวิตด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน มีพัฒนาการที่ดี สมวัย และมีสุขภาพช่องปากที่ดี ฟันไม่ผุ ตามสโลแกนของจังหวัดปัตตานีที่ว่า “เด็กปัตตานีสูงดี สมส่วน สมวัย พัฒนาการดี วัคซีนครบ ฟันไม่ผุ”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของทีมอาสาสมัครประจำหมู่บ้านให้สามารถดูแล ติดตามกลุ่มเป้าหมาย และเป็นพี่เลี้ยงในเรื่องของสุขภาพได้ 2.2.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็กหลักให้สามารถดูแลเด็กในมีน้ำหนักตามเกณฑ์ สูงดีสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์และมีทักษะการแปรงฟันที่มีคุณภาพ 3.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
140
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. อาสาสมัครประจำหมู่บ้านมีศักยภาพสามารถดูแลติดตามเป็นพี่เลี้ยงเรื่องสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายได้อย่างชำนาญ
๒. เด็กกลุ่มเป้าหมายสมาร์ทคิดส์มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สูงดี สมส่วน มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ และฟันไม่ผุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของทีมอาสาสมัครประจำหมู่บ้านให้สามารถดูแล ติดตามกลุ่มเป้าหมาย และเป็นพี่เลี้ยงในเรื่องของสุขภาพได้ 2.2.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็กหลักให้สามารถดูแลเด็กในมีน้ำหนักตามเกณฑ์ สูงดีสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์และมีทักษะการแปรงฟันที่มีคุณภาพ 3.
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ ๙๐ทีมอาสาสมัครประจำหมู่บ้านให้สามารถดูแล ติดตามกลุ่มเป้าหมาย และเป็นพี่เลี้ยงในเรื่องของสุขภาพได้ 2.ร้อยละ ๖๐ ของผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็กหลัก สามารถดูแลเด็กในมีน้ำหนักตามเกณฑ์ สูงดีสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์และมีทักษะการแปรงฟันที่มีคุณภาพ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
140
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
140
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของทีมอาสาสมัครประจำหมู่บ้านให้สามารถดูแล ติดตามกลุ่มเป้าหมาย และเป็นพี่เลี้ยงในเรื่องของสุขภาพได้ 2.2.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็กหลักให้สามารถดูแลเด็กในมีน้ำหนักตามเกณฑ์ สูงดีสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์และมีทักษะการแปรงฟันที่มีคุณภาพ 3.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ หนูน้อยสมาร์ทคิดส์ บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2997-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอาซูรา อาแวตาเยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ หนูน้อยสมาร์ทคิดส์ บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ 2564 ”
ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาซูรา อาแวตาเยะ
พฤษภาคม 2564
ที่อยู่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2997-1-02 เลขที่ข้อตกลง 006
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มีนาคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ หนูน้อยสมาร์ทคิดส์ บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ หนูน้อยสมาร์ทคิดส์ บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ หนูน้อยสมาร์ทคิดส์ บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L2997-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มีนาคม 2564 - 31 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,475.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปีงบประมาณ 2560 ทางสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ได้ริเริ่มดำเนินโครงการปัตตานี สมาร์ทคิดส์ (pattani smart kids) โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การเพิ่มความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา การคิด การใช้เหตุผล การคำนวณ การเชื่อมโยง (Intelligence Quotient, IQ) และพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Quotient, EQ) เพื่อให้เด็กปัตตานีรอบรู้ รอบคิด สามารถตัดสินใจเท่าทันเด็กสมัยใหม่ และเด็กที่อยู่ในเมืองได้ โดยได้คิดรูปแบบการดำเนินกิจกรรมครอบคลุมงาน 4 ด้าน คือ 1. ด้านการได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามเกณฑ์ 2. ด้านการมีสุขภาพดี สูงดี สมส่วน สมวัย 3. ด้านการมีพัฒนาการสมวัย 4. ด้านสุขภาพช่องปากดี ฟันไม่ผุ ดำเนินกิจกรรมดังกล่าวตั้งแต่เด็กแรกเกิด จนกระทั่งเด็กมีอายุครบ 5 ปี ซึ่งเด็กจะสามารถใช้ความคิด วิเคราะห์ได้ และการดำเนินงานในอนาคตจะผนวกเข้ากับหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล เป็นต้น หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ในปีงบประมาณ 2560 ทางสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ได้ริเริ่มดำเนินโครงการปัตตานี สมาร์ทคิดส์ (pattani smart kids) โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การเพิ่มความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา การคิด การใช้เหตุผล การคำนวณ การเชื่อมโยง (Intelligence Quotient, IQ) และพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Quotient, EQ) เพื่อให้เด็กปัตตานีรอบรู้ รอบคิด สามารถตัดสินใจเท่าทันเด็กสมัยใหม่ และเด็กที่อยู่ในเมืองได้ โดยได้คิดรูปแบบการดำเนินกิจกรรมครอบคลุมงาน 4 ด้าน คือ 1. ด้านการได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามเกณฑ์ 2. ด้านการมีสุขภาพดี สูงดี สมส่วน สมวัย 3. ด้านการมีพัฒนาการสมวัย 4. ด้านสุขภาพช่องปากดี ฟันไม่ผุ ดำเนินกิจกรรมดังกล่าวตั้งแต่เด็กแรกเกิด จนกระทั่งเด็กมีอายุครบ 5 ปี ซึ่งเด็กจะสามารถใช้ความคิด วิเคราะห์ได้ และการดำเนินงานในอนาคตจะผนวกเข้ากับหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาล เป็นต้น
ในส่วนของสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับงานสาธารณสุข จำเป็นที่จะต้องพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองเด็ก บิดา มารดา และผู้เลี้ยงดูเด็กหลัก ให้สามารถดูแลเด็กให้มีพัฒนาการสมวัย สมบูรณ์ สูงดีสมส่วน แข็งแรง ได้รับวัคซีนครบ ฟันไม่ผุ และพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครประจำหมู่บ้านที่เป็นตัวกลางสื่อสารและเป็นแหล่งข้อมูลเรื่องสุขภาพหลักของชุมชน ให้สามารถสอดส่อง ดูแล เผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นพี่เลี้ยงในการดูแลสุขภาพเด็กในพื้นที่รับผิดชอบของตนได้
จากรายงานเด็กอายุครบ 5 ปีที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ในปีงบประมาณ 2561-2563 จังหวัดปัตตานี มีอัตราร้อยละ ๔7.๘๗, ๔3.๔๗, ๔๔.๒1 ตามลำดับ อำเภอปะนาเระ มีอัตราร้อยละ 55.๐๑, 37.๐๖, 4๑.๑๑ ตามลำดับ และในตำบลบ้านบ้านน้ำบ่อ มีอัตราร้อยละ ๗6.๓๒, ๖๒.๐๓, ๓๘.๖๗ ตามลำดับ รายงานเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยในปีงบประมาณ 25๖๑-256๓ จังหวัดปัตตานี มีอัตราร้อยละ ๙๗.๘๑, 97.๖๗, 9๖.8๐ ตามลำดับ อำเภอปะนาเระ มีอัตราร้อยละ 9๗.๔๗, 9๖.๙๖, 9๖.๒3 ตามลำดับ และในตำบลบ้านบ้านน้ำบ่อ มีอัตราร้อยละ 9๗.๗๕, 9๙.๑8, 9๘.๗๘ ตามลำดับ
รายงานเด็กอายุ 0-5 ปี มีสุขภาพดี สูงดี สมส่วน ในปีงบประมาณ 25๖๑-256๓ จังหวัดปัตตานี มีอัตราร้อยละ ๕๐.๖6, ๖2.๙๐, ๖5.๕๗ ตามลำดับ อำเภอปะนาเระ มีอัตราร้อยละ ๕๗.๕๑, ๕๘.0๖, ๖๘.๔๔ ตามลำดับ และในตำบลบ้านบ้านน้ำบ่อ มีอัตราร้อยละ 3๔.๗5,๕๔.๔๓, ๖๒.๒1 ตามลำดับ
รายงานเด็กอายุ 3 ปี มีฟันผุในฟันน้ำนม ในปีงบประมาณ 25๖๑-256๓ จังหวัดปัตตานี มีอัตราร้อยละ 53.๓๗,4๕.๗๙, 3๔.๖7 ตามลำดับ อำเภอปะนาเระ มีอัตราร้อยละ ๔๗.๑๕, ๓๕.๓๓, ๒๖.๙๕ ตามลำดับ และในตำบลบ้านน้ำบ่อ มีอัตราร้อยละ 6๓.6๔, ๖๖.67, 5๒.๖๓ ตามลำดับ
จากข้อมูลข้างต้นที่ครอบคลุมกิจกรรมทั้ง 4 ด้าน จะเห็นได้ว่า เด็กในตำบลบ้านน้ำบ่อมีปัญหา เรื่องพัฒนาการล่าช้า เรื่องน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ไม่สมส่วน มีฟันผุ และเรื่องการไม่รับวัคซีน ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการดูแล ส่งเสริม ป้องกันในเรื่องดังกล่าว ทั้งนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำบ่อ จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยสมาร์ทคิดส์บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ และดำเนินกิจกรรมสอดคล้องกับนโยบายสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี เพิ่มการมีส่วนร่วมของชุมชน และเพิ่มศักยภาพของทีมอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน และผู้ปกครอง เพื่อให้เด็กในตำบลบ้านน้ำบ่อ มีสุขภาพดี แข็งแรง ไม่เป็นโรคหรือเสียชีวิตด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน มีพัฒนาการที่ดี สมวัย และมีสุขภาพช่องปากที่ดี ฟันไม่ผุ ตามสโลแกนของจังหวัดปัตตานีที่ว่า “เด็กปัตตานีสูงดี สมส่วน สมวัย พัฒนาการดี วัคซีนครบ ฟันไม่ผุ”
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของทีมอาสาสมัครประจำหมู่บ้านให้สามารถดูแล ติดตามกลุ่มเป้าหมาย และเป็นพี่เลี้ยงในเรื่องของสุขภาพได้ 2.2.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็กหลักให้สามารถดูแลเด็กในมีน้ำหนักตามเกณฑ์ สูงดีสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์และมีทักษะการแปรงฟันที่มีคุณภาพ 3.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 140 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. อาสาสมัครประจำหมู่บ้านมีศักยภาพสามารถดูแลติดตามเป็นพี่เลี้ยงเรื่องสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมายได้อย่างชำนาญ ๒. เด็กกลุ่มเป้าหมายสมาร์ทคิดส์มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สูงดี สมส่วน มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ และฟันไม่ผุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของทีมอาสาสมัครประจำหมู่บ้านให้สามารถดูแล ติดตามกลุ่มเป้าหมาย และเป็นพี่เลี้ยงในเรื่องของสุขภาพได้ 2.2.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็กหลักให้สามารถดูแลเด็กในมีน้ำหนักตามเกณฑ์ สูงดีสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์และมีทักษะการแปรงฟันที่มีคุณภาพ 3. ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ ๙๐ทีมอาสาสมัครประจำหมู่บ้านให้สามารถดูแล ติดตามกลุ่มเป้าหมาย และเป็นพี่เลี้ยงในเรื่องของสุขภาพได้ 2.ร้อยละ ๖๐ ของผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็กหลัก สามารถดูแลเด็กในมีน้ำหนักตามเกณฑ์ สูงดีสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์และมีทักษะการแปรงฟันที่มีคุณภาพ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 140 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 140 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของทีมอาสาสมัครประจำหมู่บ้านให้สามารถดูแล ติดตามกลุ่มเป้าหมาย และเป็นพี่เลี้ยงในเรื่องของสุขภาพได้ 2.2.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็กหลักให้สามารถดูแลเด็กในมีน้ำหนักตามเกณฑ์ สูงดีสมส่วน มีพัฒนาการสมวัย ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์และมีทักษะการแปรงฟันที่มีคุณภาพ 3.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ หนูน้อยสมาร์ทคิดส์ บ้านน้ำบ่อ ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L2997-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอาซูรา อาแวตาเยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......