กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ


“ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ”

ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอาลีย๊ะ วาและ

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2488-2-02 เลขที่ข้อตกลง 2/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2488-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ หลอดเลือดสมอง มะเร็ง ฯลฯเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน พิการและตายก่อนวัยอันควร องค์การอนามัยโลก(WHO) เล็งเห็นว่ากลุ่มโรค NCDs นั้นถือเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จากสถิติผู้เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552 พบว่าสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมด มีถึง 63% ที่เกิดจากกลุ่มโรค NCDs สำหรับประเทศไทยเอง สถิติล่าสุดพบว่ามีถึง 14 ล้านคนที่เป็นโรคในกลุ่มโรค NCDs และที่สำคัญยังถือเป็นสาเหตุหลักการเสียชีวิตของ ประชากรทั้งประเทศ โดยจากสถิติปี พ.ศ. 2552 พบว่า มีประชากรเสียชีวิตจากกลุ่มโรค NCDs มากกว่า 300,000 คน หรือคิดเป็น ร้อยละ73 ของการเสียชีวิตของประชากรไทยทั้งหมดในปี 2552 คิดเป็นมูลค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจถึง 200,000 ล้านบาทต่อปี ทั้งสถิติการเสียชีวิตดังกล่าวยังแสดงว่าประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตมากกว่าค่าเฉลี่ยของทั้งโลกและมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ในอนาคต
โรคเบาหวานเป็นปัญหา 1 ใน 5 ของปัญหาสาธารณสุขในอำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ในปี พ.ศ. 2561 – 2563 ข้อมูลจากการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานในกลุ่มวัยทำงาน (ระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ.นราธิวาส ) อำเภอบาเจาะมีประชากรเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ร้อยละ 8.78 , 19.78 ,18.40 ผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ร้อยละ1.59 , 0.84 และ 0.90 ผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ11.68 , 12.78 และ 14.78 และผลจากการประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมตามหลัก 3อ2ส ของกลุ่มวัยทำงาน อายุ 15 – 59 ปี จำนวน 100 คน ในปี 2562 พบว่า ความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพอยู่ในระดับถูกต้องบ้าง คือรู้และเข้าใจใน 3อ2ส ถูกต้องเป็นส่วนน้อย ไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพที่ดี การเข้าถึงข้อมูลอยู่ในระดับพอใช้ คือสามารถแสวงหาข้อมูลและบริการสุขภาพได้บ้างแต่ยังไม่สามารถนำมาใช้ตัดสินใจให้ถูกต้องแม่นยำได้ การสื่อสารสุขภาพอยู่ในระดับที่ไม่ดี ยังมีปัญหาในการฟัง การอ่าน และโน้มน้าวให้ผู้อื่นเข้าใจได้ การจัดการตนเองอยู่ในระดับพอใช้ คือมีความสามารถในการจัดการเงื่อนไขด้านอารมณ์ได้บ้าง การตัดสินใจและเลือกปฏิบัติอยู่ในระดับดีมาก คือสามารถตัดสินใจที่ถูกต้องภายใต้ความสำคัญต่อการปฏิบัติตาม 3อ2ส ที่เกิดผลดีต่อสุขภาพตนเองและผู้อื่นอย่างเคร่งครัด โดยสรุประดับความรอบรู้ด้านสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับ พอใช้ และระดับพฤติกรรมสุขภาพตาม 3อ2ส อยู่ในระดับดี คือมีพฤติกรรมการปฏิบัติตนในการดุแลสุขภาพตนเองตาม 3อ2ส ได้อย่างถูกต้องสม่ำเสมอ  จากผลการวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุแห่งพฤติกรรม พบว่าปัจจัยนำมาจากการขาดความรู้ หรือไม่เข้าใจในเรื่องของโรคเบาหวาน ความรุนแรงของโรค การเลือกบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ การไม่ออกกำลังกาย หรือไม่รู้วิธีการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับตนเอง และการไม่รู้ว่าตนเองมีภาวะหรือพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ปัจจัยเอื้อ เกิดจากสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการบริโภคที่มากขึ้น ร้านอาหาร ร้านขายข้าวแกง ร้านสะดวกซื้อ ร้านขายเครื่องดื่ม น้ำชากาแฟที่มีเพิ่มขึ้น หาซื้อง่ายและมีราคาถูก จึงไม่ต้องเสียเวลามาประกอบอาหารรับประทานเอง และการไม่มีสถานที่ที่เอื้อต่อการออกกำลังกาย ปัจจัยเสริม งานเลี้ยง งานมาแกปูโละ งานบุญต่างๆ การโฆษณาจากสื่อต่างๆ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขไม่สามารถเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนได้ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย
ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ต้องเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อให้คนในชุมชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ที่ดีขึ้น โดยประชาชนจะต้องดูแลตนเองด้วยการมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง รับประทานอาหาร ออกกำลังกายที่เหมาะสม และตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข ประชาชนในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปควรได้รับการค้นหาความเสี่ยงทุกปี เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงและผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง เสริมพลังความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานและลดภาวะแทรกซ้อน ความพิการในกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ
  2. 2.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  3. 3.เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ตามโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ตามโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการบริการทางสุขภาพอย่างทั่วถึง และเท่าเทียม

2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ และทัศนคติที่เหมาะสมในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

3.กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ตามโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 21 เมษายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.คัดกรองภาวะสุขภาพในกลุ่มเป้าหมายและประเมินผลการตรวจสุขภาพ แบ่งประเภทกลุ่มเป้าหมาย 2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ตามโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.สรุปผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายรายบุคคล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของประชาชนอายุ 35 – 59 ปี ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน / ความดันโลหิต ร้อยละ 80 ของผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 50 ของผู้เข้ารับการปรับเปลี่ยนมีพฤติกรรมสุขภาพ 3อ2ส ที่ดีขึ้น
0.00

 

2 2.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : มีแกนนำเข้าร่วมทุกกระบวนการ
0.00

 

3 3.เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : หมู่บ้านผ่านเกณฑ์ประเมินหมู่บ้านแห่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ระดับดี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ (2) 2.เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) 3.เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ตามโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ตามโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2488-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาลีย๊ะ วาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด