กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มซาไก ”

ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวโซเฟีย หะยีมะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มซาไก

ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4131-1-21 เลขที่ข้อตกลง ...........

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มซาไก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มซาไก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มซาไก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4131-1-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,230.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มซาไกหรือโอรัง อัสลี เป็นกลุ่มชาติพันธุ์มานิซึ่งเป็นชนพื้นเมืองดั้งเดิมที่มีถิ่นอาศัยอยู่ทางภาคใต้ของไทยในเขตป่าเทือกเขาบรรทัดและเขตป่าเทือกเขาบรรทัดสันกาลาคีรี ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ในจังหวัดตรัง พัทลุง สตูล สงขลา นราธิวาส และยะลา วิถีชีวิตดั้งเดิมของกลุ่มซาไกมีลักษณะเป็นสังคมล่าสัตว์และเก็บของป่า ไม่มีที่อยู่อาศัยเป็นหลักแหล่งที่แน่นอน มักมีการอพยพโยกย้ายเพื่อหาที่อยู่ใหม่ที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์กว่า แต่ในปัจจุบันเนื่องจากสภาพป่าที่เริ่มขาดความอุดมสมบูรณ์ ทำให้กลุ่มซาไกบางกลุ่มมีวิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงจากดั้งเดิม โดยมีการตั้งบ้านเรือนที่อยู่อาศัยแบบถาวร มีการติดต่อสัมพันธ์กับผู้คนภายนอกเพื่อดำรงหาเลี้ยงชีพ โดยในเขตพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา มีกลุ่มชนซาไกกลุ่มหนึ่งได้มาสร้างที่พักอาศัยถาวรอยู่ในเขตป่าบริเวณหมู่ที่ 9 บ้านนากอ และได้รับการออกบัตรประจำตัวประชาชนเรียบร้อยแล้ว ซึ่งทำให้กลุ่มซาไกกลุ่มนี้ได้รับสิทธิพลเมืองขั้นพื้นฐานดังเช่นประชาชนไทยทั่วไป กลุ่มชนซาไกเป็นกลุ่มดำรงชีวิตอยู่กับธรรมชาติ มีที่อยู่อาศัยในพื้นที่ห่างไกลจากสังคมชุมชนทั่วไป ทำให้ขาดโอกาสในการรับความรู้ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ และได้รับการบริการด้านสาธารณสุขไม่ทั่วถึง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมตำบลอัยเยอร์เวงตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพในกลุ่มซาไก จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่กลุ่มซาไกขึ้น เพื่อให้กลุ่มซาไกได้เรียนรู้การดูแลรักษาสุขภาพร่างกายได้ถูกต้อง รู้จักการใช้ยาสามัญประจำบ้านและการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ รวมถึงได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากโรคโควิด-19 ซึ่งเป็นโรคระบาดที่สำคัญในปัจจุบัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มซาไกสามารถใช้ยาสามัญประจำบ้านและมีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
  2. เพื่อให้กลุ่มซาไกสามารถดูแลสุขอนามัยและสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี
  3. เพื่อให้กลุ่มซาไกมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคโควิด-19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่กลุ่มซาไก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มซาไกสามารถใช้ยาสามัญประจำบ้านและมีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
  2. กลุ่มซาไกสามารถดูแลสุขอนามัยและสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี
  3. กลุ่มซาไกมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคโควิด-19

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่กลุ่มซาไก

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการ
  2. จัดเตรียมอุปกรณ์สำหรับการจัดกิจกรรม
  3. ดำเนินการจัดกิจกรรม
      3.1 กิจกรรมให้ความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่กลุ่มซาไก

- การใช้ยาสามัญประจำบ้านและปฐมพยาบาลเบื้องต้น
- การดูแลสุขอนามัยและรักษาสุขภาพในช่องปาก - ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคโควิด-19   3.2 การสนับสนุนยา อุปกรณ์เพื่อดูแลสุขภาพเบื้องต้นและป้องกันโรคโควิด-19   3.3 การลงพื้นที่เพื่อประเมินผล 4. สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กลุ่มซาไกสามารถใช้ยาสามัญประจำบ้านและมีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
  • กลุ่มซาไกสามารถดูแลสุขอนามัยและสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี
  • กลุ่มซาไกมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคโควิด-19

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มซาไกสามารถใช้ยาสามัญประจำบ้านและมีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของซาไกสามารถใช้ยาสามัญประจำบ้านและมีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
80.00 60.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มซาไกสามารถดูแลสุขอนามัยและสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของซาไกสามารถดูแลสุขอนามัยและสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี
80.00 80.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มซาไกมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคโควิด-19
ตัวชี้วัด : ร้อยละของซาไกความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคโควิด-19
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มซาไกสามารถใช้ยาสามัญประจำบ้านและมีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น (2) เพื่อให้กลุ่มซาไกสามารถดูแลสุขอนามัยและสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี (3) เพื่อให้กลุ่มซาไกมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคโควิด-19

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่กลุ่มซาไก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มซาไก จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4131-1-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวโซเฟีย หะยีมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด