กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน


“ โครงการเด็กตะโละฟันสวยด้วยมือแม่ ”

ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายซัมซี เจ๊ะแต

ชื่อโครงการ โครงการเด็กตะโละฟันสวยด้วยมือแม่

ที่อยู่ ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L2972-10(1)-5 เลขที่ข้อตกลง 14/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กตะโละฟันสวยด้วยมือแม่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กตะโละฟันสวยด้วยมือแม่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กตะโละฟันสวยด้วยมือแม่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละดือรามัน อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L2972-10(1)-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,386.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละดือรามัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี เป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดของชีวิตทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม บุคลิกภาพ ผู้ปกครองนับว่ามีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการส่งเสริมสุขภาพ อีกทั้งมีอิทธิพลต่อการปลูกฝังทะศนคติและพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง และการส่งเสริมพฤติกรรมเลือกรับประทานอาหารอีกด้วย อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีในอนาคต     โรคฟันผุในเด็กเป็นปัญหาทันตสาธารณสุขในเด็กไทย ปัญหาฟันน้ำนมผุส่งผลเสียต่อการพัฒนาการและสุขภาพ ของเด็กทั้งในช่วงวัยเด็กและระยะยาว อาจมีผลกระทบ ไปขัดขวางการเจริญเติบโต พัฒนาการ และ สติปัญญา มีผลต่อการขึ้นของฟันแท้ทำให้ไม่สามารถขึ้นได้ตามปกติ จากคลังข้อมูลสุขภาพสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในปี 2561 พบว่าอำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานีมีเด็กอายุ 3 ปี ที่มีฟันน้ำนมผุ คิดเป็นร้อยละ 48.04 ส่วนตำบลตะโละดือรามันคิดเป็นร้อยละ 26.3 และร้อยละของเด็ก 3 ปี ที่ได้รับการคัดเคลือบฟลูออไรด์เฉพาะที่ของอำเภอกะพ้อเป็นร้อยละ 66.08 ส่วนในตำบลตะโละดือรามันเป็นร้อยละ 66.39 ถึงแม้อัตราฟันผุในฟันน้ำนมของเด็กอายุ 3 ปีในตำบลตะโละดือรามันจะต่ำกว่าอำเภอกะพ้อ และร้อยละการเคลือบฟลูออไรด์เฉพาะที่สูงกว่า แต่สถานการณ์ฟันผุในเด็กปฐมวัยถือว่าเป็นปัญหาที่ควรได้รับการดูแลป้องกันแก้ไขอยู่ อีกทั้งเป็นการสนับสนุนการแก้ปัญหาตามนโยบาย Pattani Smart Kitd เพื่อให้เด็กปัตตานีมีสุขภาพฟันที่ดี รูปร่างสมส่วน พัฒนาการสมวัย       จากการศึกษาของกรมอนามัยเรื่องความสัมพันธ์ของฟันผุกับภาวะโภชนาการในเด็กอายุ 3 ปี พบว่า เด็กที่มีฟันผุมากกว่า 4 ซึ่งมีโอกาสเป็นเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ 1.4 เท่าของเด็กที่ไม่มีฟันผุ และมีโอกาสเตี้ยกว่าเกณฑ์ 1.5 เท่าของเด็กที่ไม่มีฟันผุ เพราะฉะนั้นอาหารและโภชนาการในช่วงต้นของชีวิตมีบทบาทสำคัญต่อสุขภาพในระยะยาว โดยเฉพาะผลต่อการพัฒนาการและสติปัญหาของเด็ก การป้องกันและแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัยจึงเป็นช่องทางหนึ่งในการลดปัจจัยเสี่ยงด้านโภชนาการของเด็กอย่างบูรณาการ       ดังนั้นเพื่อสร้างเสริมสุขภาพของเด็กในตำบลตะโละดือรามัน จึงได้บูรณาการด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และงานด้านโภชนาการโดยกระตุ้นให้มีการจัดกิจกรรมสร้างรอยยิ้มด้วยมือแม่ ซึ่งมีรูปแบบกิจกรรมมุ่งเน้นให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็ก รวมถึงภาวะโภชนาการที่เหมาะสม และมีการติดตามอย่างใกล้ชิดด้วยความร่วมมือของอสม. กลุ่มงานทันตกรรมเล็งเห็นโอกาสในการบูรณาการ และส่งเสริมพฤติกรรม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กตะโละฟันสวยด้วยมือแม่ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 64-L2972-10(1)-5

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายซัมซี เจ๊ะแต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด