กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการรณรงค์สำรวจบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปราณี สาเเล๊ะมะ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์สำรวจบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-1-8 เลขที่ข้อตกลง 12/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2021 ถึง 30 กันยายน 2021


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์สำรวจบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์สำรวจบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์สำรวจบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3070-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2021 - 30 กันยายน 2021 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในอดีตที่ผ่านมากลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70-75 เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ 5- 14 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียนและการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน สำหรับสถานการณ์โรคระบาดของไข้เลือดออกในจังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ.2563 มีจำนวนผู้ป่วย ทั้งสิ้นจำนวน 537 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 86.39 ต่อประชากรแสนคน มีผู้เสียชีวิต 1 ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ 0.16 อัตราป่วยตายเท่ากับร้อยละ 0.19 พบผู้ป่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยพบเพศหญิง 270 ราย เพศชาย 267 ราย กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ กลุ่มอายุ 5-9 ปี คิดเป็นอัตราป่วย 189.73 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 10-14 ปี คิดเป็นอัตราป่วย 159.78 ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับ อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุด คือ นักเรียน จำนวนผู้ป่วย 333 ราย รองลงมา นปค. 73 ราย ,อาชีพรับจ้าง 69 ราย ,อาชีพเกษตร 16 ราย , อาชีพงานบ้าน 15 ราย , อาชีพทหาร/ตำรวจ 13 ราย, อาชีพค้าขาย 7 ราย ,อาชีพอื่นๆ 4 ราย ,อาชีพบุคลากรสาธารณสุข 2 ราย ,อาชีพครู 2 ราย , อาชีพราชการ 2 ราย และอาชีพนักบวช 1 ราย ตามลำดับในปี 2563 อำเภอหนองจิก มีจำนวนผู้ป่วย จำนวน 57 ราย พบว่ามีอัตราการป่วย 55.43 ต่อประชากรแสนคน มีผู้เสียชีวิต 1 ราย คิดเป็นอัตราตาย 43.65 ต่อประชากรแสนคน (รพ.สต.โคกโตนด มีเสียชีวิต 1 ราย)
สถานการณ์ข้อมูลโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลยาบี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2559 – พ.ศ.2563 พบว่า ปี 2559 มีผู้ป่วยไข้เลือดออกทั้งหมด 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ร้อยละ 73.42 ต่อแสนประชากร ,ปี 2560 จำนวนผู้ป่วย 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ร้อยละ 73.21 ต่อแสนประชากร ,ปี 2561 จำนวน 0 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ร้อยละ 0.00 ต่อแสนประชากร , ปี 2562 ผู้ป่วย 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ร้อยละ 81.57 ต่อแสนประชากร และปี 2563 จำนวน 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย ร้อยละ 11.77 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ถ้าเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง เป้าหมายผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกต้องไม่เกิน 2 ราย/ปี คิดเป็นอัตราป่วย ร้อยละ 73.31 ต่อแสนประชากร ทำให้มีแนวโน้มผู้ป่วยเพิ่มขึ้น
    จากปีที่ผ่านมาที่ได้ดำเนินงานโครงการโรคไข้เลือดออก ปี 2563 ในตำบลยาบี จากการลงไปประเมินบ้านสะอาดปราศจากลูกน้ำยุงลาย พบว่า ประชาชนยังมีพฤติกรรมและยังขาดความตระหนักในเรื่องวิธีการป้องกันตนเอง เช่น นอนไม่กางมุ้ง ไม่ทายากันยุง ไม่ใช้ยาจุดกันยุง ฯลฯ การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายตามครัวเรือน เช่น ไม่มีการจัดการเรื่องขยะตามครัวเรือน บางบ้านมีการคัดแยกขยะตามครัวเรือนแต่ยังไม่ถูกต้อง บางบ้านทิ้งขยะตามริมถนนและริมคลอง เนื่องจากไม่มีที่ทิ้งขยะ ฯลฯ ซึ่งปัญหาเหล่านี้ส่งผลทำให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยาบีได้ ในช่วงฤดูฝนบางพื้นที่ก็อาจจะมีน้ำขัง ซึ่งทำให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายได้ แต่อย่างไรก็ตามในภาคใต้มักจะมีฝนตกมากในช่วงปลายปี (พฤศจิกายน - ธันวาคม) จึงมีโอกาสที่จะเกิดการระบาดในช่วงปลายปีแล้วต่อเนื่องไปยังต้นปีของปีถัดไป ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและฐานะทางเศรษฐกิจของประชาชนในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์สำรวจบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลยาบี ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ขึ้น โดยมีการดำเนินงาน 2 กิจกรรม คือ กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ แก่ทีมงานที่จะลงประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลายในชุมชนและในโรงเรียน (นำร่องหมู่ 1) และกิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสำรวจควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย พร้อมแจกทรายอะเบท เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชน ,เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI และค่า CI ในชุมชน โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยาบี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  2. 2.เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI และค่า CI ในชุมชนไม่เกินร้อยละ 15
  3. 3.เพื่อให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการกำจัดขยะและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายตามครัวเรือนของตนเองอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ชี้แจงรายการดำเนินงานโครงการและให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก
  2. 2.การประเมินบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลายในชุมชนและโรงเรียน
  3. 3.กิจกรรมควบคุม และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

2.ดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI และค่า CI ในโรงเรียนและในชุมชนลดลง

3.เพื่อให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการป้องกันตนเอง กำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายตามครัวเรือนของตนเองอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

4.ชุมชนมีมาตรการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 3.กิจกรรมควบคุม และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 1 พฤษภาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

งบประมาณ -ค่าตอบเเทนให้กับทีมเจ้าหน้าที่ รพ.สต.พ่นหมอกควัน ในวันหยุดราชการ จำนวน 3 คน อัตราคนละ 300 บาทต่อครั้ง จำนวน 6 ครั้ง เป็นเงิน 5400 บาท -ค่าพาหนะเดินทาง สำหรับ อสม.ในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย จำนวน 12 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 1 ครั้ง เป็นเงิน 600 บาท ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง 1.ชนิดเบนซิน จำนวน 80 ลิตรๆละ 30 บาท เป็นเงิน 2400 บาท 2.ชนิดดีเซล จำนวน 930 ลิตรๆละ 30 บาท เป็นเงิน 27900 บาท -ค่าผลิตภัณฑ์ป้องกันและกำจัดยุงลาย (น้ำยาสารเคมี) จำนวน 12 ลิตรๆละ 1600 บาท เป็นเงิน 19200 บาท รวมเป็นเงิน 55500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง 2.เกิดครอบครัว/โรงเรียนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย 3.ชุมชนมีมาตรการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

30 0

2. 1. ชี้แจงรายการดำเนินงานโครงการและให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก

วันที่ 17 พฤษภาคม 2021

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมายได้แก่ อสม. แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนา ครู และทีมงานพ่นหมอกควัน จำนวน 60 คน รุ่นที่ 1 จำนวน 20 คน รุ่นที่ 2 จำนวน 20 คน รุ่นที่ 3 จำนวน 20 คน งบประมาณ -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน อัตรามื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 3000 บาท -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน อัตรามื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3000 บาท -ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 x 3.0 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

2.เกิดครอบครัว/โรงเรียนต้นเเบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

3.ชุมชนมีมาตรการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

60 0

3. 2.การประเมินบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลายในชุมชนและโรงเรียน

วันที่ 11 มิถุนายน 2021

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม ได้เเก่ 1.ประชุมชี้เเจงทีมลงประเมินบ้านสะอาดวันที่ 11 มิถุนายน 2564 วันที่ 18 มิถุนายน 2564 วันที่ 25 มิถุนายน 2564 2.ค่าพาหนะ อสม.ในการลงสุ่มประเมินบ้านสะอาดจำนวน 12 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 3 ครั้งในวันที่ 14 มิถุนายน 2564 วันที่ 28 มิถุนายน 2564 พื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านยาบีใต้ ตำบลยาบี งบประมาณ -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 12 คน อัตรามื้อละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ จำนวน 3 ครั้ง
เป็นเงิน 1800 บาท -ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 12 คน อัตรามื้อละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 1800 บาท -ค่าพาหนะ อสม.ในการลงประเมินบ้านสะอาดจำนวน 12 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 3 ครั้ง เป็นเงิน 1800 บาท รวมเป็นเงิน 5400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง 2.เกิดครอบครัว/โรงเรียนต้นเเบบปลอดลูกน้ำยุงลาย 3.ชุมชนมีมาตรการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

12 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการ บ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2564 ได้จัดทำขึ้นในช่วงเดือนสิงหาคม พ.ศ.2564 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ.2565 เนื่องจากสถานการณ์โควิดระบาดหนักมาก จึงได้มีการขอขยายระยะเวลาในการดำเนินงานจนถึงปีงบประมาณ 2565 โดยมีกิจกรรมดังนี้ กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้เเจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการเเก่อสม. แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนา ครูและทีมงานพ่นหมอกควัน โดยมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 60 คน ซึ่งกิจกรรมจัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-12 สิงหาคม 2564 เนื่องจากสถานการณ์โควิดระบาดหนักมาก ทำให้การรวมกลุ่มในการประชุมต้องจัดทำเป็นรุ่นๆละ 10 คน โดยได้มีการประชุมชี้เเจงให้กับภาคีเครือข่ายในชุมชนและทีมพ่นหมอกควัน พร้อมให้เครือข่ายทีมพ่นหมอกควันฝึกทักษะภาคปฏิบัติจริงในชุมชน จำนวน 6 หมู่บ้านในพื้นที่ตำบลยาบี รวมถึงให้ อสม.มีการสำรวจลูกน้ำยุงลายในเขตละแวกของตนเอง พร้อมแจกทรายอะเบทให้กับชุมชน ผลการประเมิน พบว่าเครือข่ายทีมพ่นหมอกควันและอสม.สามารถปฏิบัติงานได้จริง
กิจกรรมที่ 2.1 ประชุมชี้เเจงทีมลงประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลายในชุมชนและในโรงเรียนโดยมีกลุ่มเป้าหมายทีมลงประเมิน จำนวน 12 คน ซึ่งกิจกรรมจัดขึ้นในวันที่ 9 พฤษภาคม 2565 วันที่ 12 พฤษภาคม 2565 และวันที่ 6 มิถุนายน 2565 เพื่อชี้เเจงเกณฑ์ในการลงประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย ซึ่งจะลงประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย ในพื้นที่ชุมชนหมู่ที่ 1 บ้านยาบีใต้ ตำบลยาบี เป็นชุมชนนำร่อง ผลการประเมิน พบว่า ทีมลงประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 12 คน มีการเข้าใจเกณฑ์ในการประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลายได้ ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 2.2 ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านเพื่อสุ่มการประเมินบ้านสะอาด โดยมีกลุ่มเป้าหมายทีมลงประเมิน จำนวน 12 คน ซึ่งกิจกรรมการลงพื้นที่ในการลงประเมินบ้านสะอาด จัดขึ้นในวันที่ 10 พฤษภาคม 2565 วันที่ 13 พฤษภาคม 2565 และวันที่ 7 มิถุนายน 2565 จากการลงพื้นที่ชุมชนหมู่ที่ 1 บ้านยาบีใต้ ตำบลยาบี ซึ่งเป็นชุมชนนำร่อง ในการลงประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย จำนวนทีมลงประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 12 คน โดยแบ่งเป็นละแวก พบว่า มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 120 ครัวเรือน สำรวจครัวเรือน และลงประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 83 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 69.17 เปอร์เซ็นต์ ครัวเรือนที่ไม่ได้ลงสำรวจและไม่ได้ลงประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 37 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 30.83 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากเจ้าบ้านไม่อยู่ไปทำงานต่างถิ่น

จากการลงประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 83 ครัวเรือน พบว่าจำนวนบ้านที่สำรวจพบลูกน้ำยุงลาย (ค่าดัชนี HI) จำนวน 9 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 10.84 เปอร์เซ็นต์ และจำนวนบ้านที่สำรวจไม่พบลูกน้ำยุงลาย
(ค่าดัชนี HI) จำนวน 74 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 89.16 เปอร์เซ็นต์ และมีการสำรวจลูกน้ำยุงลายภายนอกบ้าน (ค่าดัชนี CI) โดยสำรวจภาชนะต่างๆเช่น โอ่งน้ำ ยางรถยนต์ บ่อปูนซีเมนต์ ภาชนะอื่นๆ เป็นต้น พบว่าจากการสำรวจในภาชนะต่างๆ จำนวน 982 รายการ พบว่ามีลูกน้ำยุงลายในภาชนะ จำนวน 94 รายการ คิดเป็นร้อยละ 9.57 เปอร์เซ็นต์

จากการลงประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 83 ครัวเรือน พบว่า มีบ้านที่จัดการคัดแยกขยะในครัวเรือน จำนวน 68 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 81.92 เปอร์เซ็นต์ และบ้านที่ไม่มีการคัดแยกขยะ จำนวน 15 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 18.08 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากประชาชนขาดความตระหนักในการคัดแยกขยะ

จากการลงประเมินบ้านสะอาดปลอดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 83 ครัวเรือน พบว่า มีบ้านที่มีการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ จำนวน 63 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ คิดเป็นร้อยละ 75.90 เปอร์เซ็นต์ และบ้านที่ไม่มีการปลูกผักสวนครัว จำนวน 20 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 24.10 เปอร์เซ็นต์

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดยมีกลุ่มเป้าหมาย อสม.ทีมลงประเมินบ้าน จำนวน 12 คน ซึ่งกิจกรรมการลงพื้นที่ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย จัดขึ้นในวันที่ 10 มิถุนายน 2565 จากการลงพื้นที่ชุมชนหมู่ที่ 1 บ้านยาบีใต้ ตำบลยาบี ซึ่งเป็นชุมชนนำร่อง ผลการประเมิน พบว่า อสม. ทีมลงประเมินบ้าน จำนวน 12 คน ได้ทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน เชิงปฏิบัติการจริงได้ คิดเป็นร้อยละ 100

เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก 2.เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลาย ค่า HI และค่า CI ในชุมชนไม่เกินร้อยละ 10 3.เพื่อให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการกำจัดขยะและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ ยุงลายตามครัวเรือนของตนเองอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน 2.เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI และค่า CI ในชุมชนไม่เกินร้อยละ 10 3.จำนวนครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะถูกต้องร้อยละ 70

ผลลัพธ์ 1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 0 รายคิดเป็นร้อยละ 0.00 2.ค่าดัชนี HI คิดเป็นร้อยละ 10.84 เปอร์เซ็นต์ ค่าดัชนี CI คิดเป็นร้อยละ 9.57 เปอร์เซ็นต์ 3.จำนวนครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 81.92 เปอร์เซ็นต์

ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน มีปัญหา/อุปสรรค การดำเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ เนื่องจากสถานการณ์โควิดระบาดหนักมากในพื้นที่ตำบลยาบี ทำให้การดำเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ อีกอย่างการจัดกิจกรรมในการรวมกลุ่มผู้คนเยอะๆ ก็ควรเลี่ยงทำให้กิจกรรมบางกิจกรรมต้องจัดทำเป็นหลายๆรุ่น หลายครั้ง

แนวทางแก้ไข ขอขยายระยะเวลาในการดำเนินงานไปจนถึงปีงบประมาณ 2565 เพื่อที่จะดำเนินโครงการ/แผนงาน/กิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
100.00

 

2 2.เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI และค่า CI ในชุมชนไม่เกินร้อยละ 15
ตัวชี้วัด : 2.เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI และค่า CI ในชุมชนไม่เกินร้อยละ 15
100.00

 

3 3.เพื่อให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการกำจัดขยะและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายตามครัวเรือนของตนเองอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : 3.จำนวนครัวเรือนที่มีการจัดการเรื่องขยะ ร้อยละ 80 4.จำนวนครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะถูกต้อง ร้อยละ 70
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 4180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) 2.เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI และค่า CI ในชุมชนไม่เกินร้อยละ 15 (3) 3.เพื่อให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการกำจัดขยะและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายตามครัวเรือนของตนเองอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ชี้แจงรายการดำเนินงานโครงการและให้ความรู้เรื่องไข้เลือดออก (2) 2.การประเมินบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลายในชุมชนและโรงเรียน (3) 3.กิจกรรมควบคุม และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์สำรวจบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2564

รหัสโครงการ 64-L3070-1-8 รหัสสัญญา 12/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2021 - 30 กันยายน 2021

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เป็นโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่ตำบลยาบี เพื่อดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกทั้งในชุมชนและในโรงเรียน เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่คนในชุมชน และรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ เป็นการสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคการฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ เชิงรุก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี ตามข้อ10 (1) ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ2561

1.อัตราป่วยด้วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

2.เกิดครอบครัว/โรงเรียนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

3.ชุมชนมีมาตราการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

1.ประชุมชี้เเจงเรื่องโรคไข้เลือดออกและการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนแก่ประชาชนตำบลยาบี

2.ประชุมชี้เเจงคณะทีมงานเครือข่ายในชุมชน
ได้เเก่ แกนนำในชุมชน ทีมพ่นหมอกควัน อสม. และทีมลงไปประเมินบ้านสะอาดปราศจากลูกน้ำ ยุงลาย

3.สำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในสถานที่ราชการและในชุมชนเดือนละ 1 ครั้งโดย อสม.

4.อสม.บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมรายงาน อสม.ออนไลน์เดือนละ 1 ครั้ง

5.ลงสุ่มประเมินการจัดการด้านสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมในครัวเรือน โดยทีมสุ่มประเมิน

6.ควบคุมการระบาดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดยการใช้เครื่องพ่นหมอกควันในการกำจัดยุงในโรงเรียนและบ้านเรือนกรณีมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน

7.เจ้าหน้าที่ รพ.สต.สรุปรวบรวมข้อมูลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย แล้วส่งรายงานไปยังผู้รับผิดชอบงานระบาดระดับอำเภอเดือนละ 1 ครั้ง

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

2.เกิดครอบครัว/โรงเรียนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

3.ชุมชนมีมาตราการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1.ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ แก่ อสม. แกนนำชุมชน ผู้นำศาสนา ครู และทีมงานพ่นหมอกควัน จำนวน 60 คน รุ่นที่ 1 จำนวน 20 คน
รุ่นที่ 2 จำนวน 20 คน รุ่นที่ 3 จำนวน 20 คน

2.ประชุมชี้เเจงทีมลงประเมินบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลายในชุมชนและในโรงเรียน และลงประเมินบ้านสะอาดปราศจากลูกน้ำยุงลาย โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1.ประชุมชี้เเจงทีมลงประเมินบ้านสะอาดวันที่ 11 มิถุนายน 2564 วันที่ 18 มิถุนายน 2564 วันที่ 25 มิถุนายน 2564 2.ค่าพาหนะ อสม.ในการลงสุ่มประเมินบ้านสะอาดจำนวน 12 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 3 ครั้ง ในวันที่ 14 มิถุนายน 2564 วันที่ 21 มิถุนายน 2564 วันที่ 28 มิถุนายน 2564 พื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านยาบีใต้ ตำบลยาบี

3.กิจกรรมควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออดลดลง

2.เกิดครอบครัว/โรงเรียนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

3.ชุมชนมีมาตราการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

การนอนกางมุ้ง ทายากันยุง การใช้ยากันยุง และการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายตามครัวเรือน เช่น มีการจัดการเรื่องขยะ การคัดแยกขยะในครัวเรือนที่ถูกต้อง ไม่ทิ้งขยะตามริมถนนและริมคลอง

-อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

-เกิดครอบครัว/โรงเรียนต้นเเบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

-ชุมชนมีมาตราการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การนอนกางมุ้ง ทายากันยุง การใช้ยากันยุง และการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายตามครัวเรือน เช่น มีการจัดการเรื่องขยะ การคัดแยกขยะในครัวเรือนที่ถูกต้อง ไม่ทิ้งขยะตามริมถนนและริมคลอง

-อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

-เกิดครอบครัว/โรงเรียนต้นเเบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

-ชุมชนมีมาตราการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

-

-

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-สำรวจ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในสถานที่ราชการและในชุมชนเดือนละ 1 ครั้ง โดย อสม.

-ควบคุมการระบาดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ ยุงลาย โดยการใช้เครื่องพ่นหมอกควันในการกำจัดยุงในโรงเรียนและบ้านเรือนกรณีมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน

-อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

-เกิดครอบครัว/โรงเรียนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

-ชุมชนมีมาตราการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

-ประชุมชี้เเจงคณะทีมงานเครือข่ายในชุมชน ได้เเก่ แกนนำในชุมชน ทีมพ่นหมอกควัน อสม.และทีมลงไปประเมินบ้านสะอาดปราศจากลูกน้ำยุงลาย

-เจ้าหน้าที่ รพ.สต.สรุปรวบรวมข้อมูลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย แล้วส่งรายงานไปยังผู้รับผิดชอบงานระบาดระดับอำเภอเดือนละ 1 ครั้ง

-อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

-เกิดครอบครัว/โรงเรียนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

-ชุมชนมีมาตราการในการำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

-

-

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

-

-

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

-ประชุมชี้เเจงเรื่องโรคไข้เลือดออกและการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนแก่ประชาชนตำบลยาบี

-ประชุมชี้เเจงคณะทีมงานเครือข่ายในชุมชน ได้เเก่ แกนนำในชุมชน ทีมพ่นหมอกควัน อสม.และทีมลงไปประเมินบ้านสะอาดปราศจากลูกน้ำยุงลาย

-สำรวจ และทำลายเเหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในสถานที่ราชการและในชุมชนเดือนละ 1 ครั้ง โดย อสม.

-อสม.บันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมรายงาน อสม.ออนไลน์ เดือนละ 1 ครั้ง

-ลงสุ่มประเมินการจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน โดยทีมสุ่มประเมิน

-ควบคุมการระบาดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดยการใช้เครื่องพ่นหมอกควันในการกำจัดยุงในโรงเรียนและบ้านเรือนกรณีมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน

-เจ้าหน้าที่รพ.สต.สรุปรวบรวมข้อมูลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย แล้วส่งรายงานไปยังผู้รับผิดชอบงานระบาดระดับอำเภอเดือนละ 1 ครั้ง

-อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

-ครอบครัว/โรงเรียนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

-ชุมชนมีมาตราการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

-

-

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

การส่งเสริมให้ประชาชนในตำบลยาบีให้ความสำคัญกับการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก

-อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

-เกิดครอบครัว/โรงเรียนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

-ชุมชนมีมาตรการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

-ควบคุมการระบาดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ ยุงลาย โดยการใช้เครื่องพ่นหมอกควันในการกำจัดยุงในโรงเรียนและบ้านเรือนกรณีมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน

-อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

-เกิดครอบครัว/โรงเรียนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

-ชุมชนมีมาตรการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

-การจัดการเรื่องขยะการคัดแยกขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกต้อง ไม่ทิ้งขยะตามริมถนนและริมคลอง

-อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

-เกิดครอบครัว/โรงเรียนต้นแบบปลอดลูกน้ำยุงลาย

-ชุมชนมีมาตรการในการกำจัดขยะตามครัวเรือน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

-

-

 

โครงการรณรงค์สำรวจบ้านสะอาด ปลอดลูกน้ำยุงลาย ตำบลยาบี ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-1-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปราณี สาเเล๊ะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด