กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2564 ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเเมรี เเวฮามะ

ชื่อโครงการ โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-1-7 เลขที่ข้อตกลง 11/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3070-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

1.1 กลุ่มโรคเรื้อรัง ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลก ทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม โดยประเทศไทยมีอัตราการเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่ำสุดเมื่อเทียบในกลุ่มประเทศภูมิภาคเอเชียใต้-ตะวันออก (SEARO) จากข้อมูลปีพ.ศ.2559 โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของประชาชนไทยทั้งในแง่ภาระโรคและอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (30-69 ปี) จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ ประกอบด้วย โรคหลอดเลือดสมอง, โรคหัวใจขาดเลือด, โรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิตสูง และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 - 2559 หลังจากนั้น มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยและคงที่ในปี พ.ศ. 2561 โดยโรคหลอดเลือดสมองมีอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรสูงที่สุดเท่ากับ 44.3 รายต่อประชากรแสนคน และอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรด้วยโรคหลอดเลือดสมองในผู้ชายสูงกว่าเพศหญิง 1.2 สภาพปัญหา : อุบัติการณ์การเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานรายใหม่มีแนวโน้มลดลง โดยมีปัจจัยเชิงบวกด้านพฤติกรรม ในประชากรที่ดีขึ้นทั้งในกลุ่มวัยผู้ใหญ่ และวัยรุ่น คือ ความชุกของการสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีแนวโน้มลดลง อย่างไรก็ตามปัจจัยเสี่ยงเชิงลบที่คุกคามสุขภาพคือการบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล และการมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ อาจกล่าวได้ว่าการลดลงของอุบัติการณ์เบาหวาน และภาวะความดันโลหิตสูง เป็นผลจากมาตรการการควบคุม ป้องกันโรค และปัจจัยเสี่ยงของภาวะความดันโลหิตสูงที่ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าในบางช่วงเวลาความชุกของ ปัจจัยเสี่ยง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ทว่ายังคงเป็นการเปลี่ยนแปลงในอัตราที่ไม่มาก นอกจากนั้นอาจสะท้อนว่าควรเพิ่มมาตรการ และ ความเข้มข้นในการดำเนินมาตรการเพื่อปรับแนวโน้มให้เปลี่ยนแปลงมากขึ้น โดยเฉพาะมาตรการด้านการควบคุมการบริโภค อาหารหวาน มัน และเค็ม นอกจากนั้นควรมีการสำรวจข้อมูลสถานการณ์การบริโภคอาหารและปริมาณโซเดียมที่บริโภคต่อวันอย่างต่อเนื่อง จากการวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพของกลุ่มวัยทำงานตำบลยาบี ปี 2561-2563 พบว่า ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 98.49 ,97.01 , 96.06 ตามลำดับ แนวโน้มการคัดกรองลดลง แต่ก็ยังอยู่ในเกณฑ์ที่กระทรวงตั้งไว้ (ร้อยละ 90) จากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ปี 2561-2563 ได้แยกผลการคัดกรองประเภทกลุ่มปกติ ร้อยละ 58.99 ,60.67 ,81.06 ตามลำดับ กลุ่มปกติมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยแยกเป็นรายหมู่อยู่ในกลุ่มปกติที่มากสุดไปหาน้อยสุด ดังนี้ หมู่ 6 (86.02%) , หมู่ 3 (83.98%) ,หมู่ 4 (83.39%) ,หมู่ 2 (80.68%) , หมู่ 1 (77.12%) และหมู่ 5 (71.35%) ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 32.31 ,30.59 ,10.47 ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยงมีแนวโน้มลดลง โดยแยกเป็นรายหมู่ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงที่มากสุดไปหาน้อยสุด ดังนี้ หมู่ 1 (16.10%) , หมู่ 5 (15.20%) ,หมู่ 3 (10.68%) , หมู่ 4 (9.00%) , หมู่ 2 (7.95%) และหมู่ 6 (6.99%) ตามลำดับ กลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 8.35 ,8.23 ,8.03 ตามลำดับ กลุ่มสงสัยป่วยมีแนวโน้มลดลง โดยแยกเป็นรายหมู่ที่อยู่ในกลุ่มสงสัยป่วยที่มากสุดไปหาน้อยสุด ดังนี้ หมู่ 5 (12.87%) , หมู่ 2 (11.36%) ,หมู่ 4 (6.92%) , หมู่ 6 (6.45%) , หมู่ 1 (5.93%) และหมู่ 3 (5.34%) ตามลำดับ ในส่วนของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานตั้งแต่ ปี 2561-2563 พบว่า ร้อยละ 98.46 ,94.53 , 93.98 ตามลำดับ แนวโน้มการคัดกรองลดลงแต่ก็ยังอยู่ในเกณฑ์ที่กระทรวงตั้งไว้ (ร้อยละ90) จากการคัดกรองโรคเบาหวาน ปี 2561-2563 ได้แยกผลการคัดกรองประเภทกลุ่มปกติ ร้อยละ 85.05 ,81.59 ,86.29 ตามลำดับ กลุ่มปกติมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยแยกเป็นรายหมู่อยู่ในกลุ่มปกติที่มากสุดไปหาน้อยสุด ดังนี้ หมู่ 3 (90.28%) , หมู่ 6 (89.76%) ,หมู่ 2 (87.23%) , หมู่ 4 (86.89%) , หมู่ 1 (83.87%) และหมู่ 5 (77.95%) ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 13.62 ,17.12 ,13.46 ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยงมีแนวโน้มลดลง โดยแยกเป็นรายหมู่ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงที่มากสุดไปหาน้อยสุด ดังนี้ หมู่ 5 (22.05%) , หมู่ 1 (15.32%) ,หมู่ 4 (12.79%) , หมู่ 2 (12.77%) , หมู่ 6 (9.76%) และหมู่ 3 (9.72%) ตามลำดับ กลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 1.17 ,1.29 ,0.08 ตามลำดับ กลุ่มสงสัยป่วยมีแนวโน้มลดลง โดยแยกเป็นรายหมู่ที่อยู่ในกลุ่มสงสัยป่วยที่มากสุดไปหาน้อยสุด ดังนี้ หมู่ 6 (0.49%) , หมู่ 1 (0.00%) ,หมู่ 2 (0.00%) , หมู่ 3 (0.00%) , หมู่ 4 (0.00%) และหมู่ 5 (0.00%) ตามลำดับ จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้หรือยังไม่สามารถจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ 1.3 ความเร่งด่วน / ผลที่คาดหวัง : จากสถานการณ์ดังกล่าว จึงมีความจำเป็นต้องมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ เพื่อแก้ไขปัญหา เฝ้าระวัง ติดตามกลุ่มเสี่ยง เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ป้องกันไม่ให้ป่วย และกลุ่มป่วยสามารถควบคุมโรคได้ เกิดเครือข่ายในการดูแลสุขภาพที่เข้มแข็งโดยเน้นการสร้างเสริมสุขภาพ การพึ่งพาตนเอง รพ.สต.ยาบี จึงได้จัดทำโครงการ 1 ตำบลยาบี 1 หมู่บ้าน NCD โดยใช้กลไกการดำเนินงานของเครือข่ายสุขภาพในชุมชนเพื่อขับเคลื่อนงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง ไม่ให้ป่วย และกลุ่มป่วยสามารถควบคุมโรคได้ โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเมื่อกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักทางสุขภาพแล้ว จะนำมาซึ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดภาวะการเป็นโรค ชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน ชุมชนเข้มแข็งด้านสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพกันเองในชุมชนได้ ตำบลยาบี (จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี) ปี 2560 พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 92.14 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 95 คน ร้อยละ 8.09 สงสัยป่วย 7 ร้อยละ 0.60 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 8 คน ร้อยละ 0.74 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 372 คน ร้อยละ 34.48 กลุ่มสงสัยป่วย 115 คน ร้อยละ 10.66 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 31 คน ร้อยละ 2.9ตำบลยาบี (จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี) ปี 2561พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 98.40 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 174 คน ร้อยละ 13.62 สงสัยป่วย 15 ร้อยละ 1.17 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 6 คน ร้อยละ 0.55 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 379 คน ร้อยละ 32.31 กลุ่มสงสัยป่วย 98คน ร้อยละ 8.35 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 16 คน ร้อยละ 1.36 ตำบลยาบี (จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี) ปี 2562พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 97.01 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 213 คน ร้อยละ 17.12 สงสัยป่วย 16 ร้อยละ 1.29 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 9 คน ร้อยละ 0.72 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 357 คน ร้อยละ 30.59กลุ่มสงสัยป่วย 96คน ร้อยละ 8.23 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 23 คน ร้อยละ 1.98 จากข้อมูลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี จึงได้เห็นถึงความสำคัญในการการดูแลเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมและสามารถลดโรคลดเสี่ยงโรคเรื้อรังเบาหวาน ความดัน จึงได้จัดทำโครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ปี 2564 ขึ้น โดยเน้นในกลุ่มที่เสี่ยงและเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานและความดันเพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรคเรื้อรังได้ในอนาคตได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
  2. 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับแนวทางการปรับเปลี่ยนตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี และหลักการ 3 อ 2 ส

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวาน
  2. กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพและคัดกรองเบื้องต้น
  3. กิจกรรมที่ 3 คืนข้อมูลสถานะทางสุขภาพของคนในชุมชน และให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  4. กิจกรรมที่ 4 อสม.ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดและประเมินระดับค่าความดันโลหิตสูง (ติดตาม 3 เดือนครั้ง จำนวน 2 ครั้ง)
  5. กิจกรรมที่ 5 คัดเลือก อสม.ต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวาน

วันที่ 1 มกราคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

งบประมาณ

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 5000 บาท

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 100 คน อัตราคนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 5000 บาท

-ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 X 3 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 900 บาท

-ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม

-สมุด จำนวน 100 เล่มๆละ 10 บาท เป็นเงิน 1000 บาท

-ปากกา จำนวน 100 ด้ามๆละ 5 บาท เป็นเงิน 500 บาท

-แฟ้มใส่เอกสาร จำนวน 100 ใบๆละ 40 เป็นเงิน 4000 บาท

รวมเป็นเงิน 16400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80

 

100 0

2. กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพและคัดกรองเบื้องต้น

วันที่ 1 มกราคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ไม่มีงบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงที่เข้ารวมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80

 

0 0

3. กิจกรรมที่ 3 คืนข้อมูลสถานะทางสุขภาพของคนในชุมชน และให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 1 มกราคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 3000 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน อัตราคนละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 3000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80

 

60 0

4. กิจกรรมที่ 5 คัดเลือก อสม.ต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

วันที่ 1 มกราคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าประกาศนียบัตรพร้อมกรอบ มอบให้อสม.บุคคลต้นแบบสำหรับ อสม.ต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 15 คน อัตราคนละ 250 บาท เป็นเงิน 3750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

-จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80

 

12 0

5. กิจกรรมที่ 4 อสม.ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดและประเมินระดับค่าความดันโลหิตสูง (ติดตาม 3 เดือนครั้ง จำนวน 2 ครั้ง)

วันที่ 1 มกราคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าตอบแทนให้กับอสม.จำนวน 38 คนในการติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูง อัตราคนละ 50 บาท จำนวน 2 ครั้ง เป็นเงิน 3800 บาท

-ค่าเครื่องวัดความดันโลหิตสูง จำนวน 6 เครื่อง (หมู่ละ 1 เครื่อง) เครื่องละ 2600 บาท เป็นเงิน 15600 บาท

-ค่าเครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 6 เครื่อง (หมู่ละ 1 เครื่อง) เครื่องละ 2950 บาท เป็นเงิน 17700 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สีและปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3 อ 2 ส ร้อยละ 80

 

38 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงานคัดกรองความดัน อายุ 35 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ ปี 2562 กลุ่มปกติ ร้อยละ 60.67 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 30.59 กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 8.23 ปีงบประมาณ ปี 2563 กลุ่มปกติ ร้อยละ 81.06 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 10.47 กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 8.03 ปีงบประมาณ ปี 2564 กลุ่มปกติ ร้อยละ 83.63 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 8.58 กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 7.44 ผลการดำเนินงานคัดกรองเบาหวาน อายุ 35 ปีขึ้นไป ปีงบประมาณ ปี 2562 กลุ่มปกติ ร้อยละ 81.59
กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 17.12 กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 1.29 ปีงบประมาณ ปี 2563 กลุ่มปกติ ร้อยละ 86.29 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 13.46 กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 0.88 ปีงบประมาณ ปี 2564 กลุ่มปกติ ร้อยละ 81.91 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 17.85 กลุ่มเสี่ยงสูง ร้อยละ 0.16 จากกลุ่มเป้าหมาย 100 คน เป็นกลุ่มปกติ 55 คน คิดเป็นร้อยละ 55 เป็นกลุ่มเสี่ยง 35 คน คิดเป็นร้อยละ 35 เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง 10 คน คิดเป็นร้อยละ 10

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานลดลงร้อยละ 5
100.00 100.00

 

2 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับแนวทางการปรับเปลี่ยนตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี และหลักการ 3 อ 2 ส
ตัวชี้วัด : 2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สีและปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับแนวทางการปรับเปลี่ยนตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี และหลักการ 3 อ 2 ส

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวาน (2) กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพและคัดกรองเบื้องต้น (3) กิจกรรมที่ 3 คืนข้อมูลสถานะทางสุขภาพของคนในชุมชน และให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (4) กิจกรรมที่ 4 อสม.ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดและประเมินระดับค่าความดันโลหิตสูง (ติดตาม 3 เดือนครั้ง จำนวน 2 ครั้ง) (5) กิจกรรมที่ 5 คัดเลือก อสม.ต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2564

รหัสโครงการ 64-L3070-1-7 รหัสสัญญา 11/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ตำบลยาบี (จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของรพ.สต.ยาบี)ปี2560พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปีขึ้นไป ร้อยละ 92.14 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 95 คน ร้อยละ 8.09 สงสัยป่วย 7 คน ร้อยละ 0.60 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 8 คน ร้อยละ 0.74 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 372 คน ร้อยละ 34.48 กลุ่มสงสัยป่วย 115 คน ร้อยละ 10.66 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 31 คน ร้อยละ 2.9 ตำบลยาบี (จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของรพ.สต.ยาบี)ปี2561พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปีขึ้นไปร้อยละ 98.40 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 174 คน ร้อยละ 13.62 สงสัยป่วย 15 ร้อยละ 1.17 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 6 คน ร้อยละ 0.55 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 379 คน ร้อยละ 32.31 กลุ่มสงสัยป่วย 98 คน ร้อยละ 8.35 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 16 คน ร้อยละ 1.36 ตำบลยาบี(จากทะเบียนผู้ป่วยโรคเรื้อรังในชุมชนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี ปี 2562 พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการคัดกรองความเสี่ยงประชากร 35 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 97.01 (พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 213 คน ร้อยละ 17.12 สงสัยป่วย 16 ร้อยละ 1.29 และมีอัตราป่วยด้วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 9 คน ร้อยละ 0.72 พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 357 คน ร้อยละ 30.59 กลุ่มสงสัยป่วย 96 คน ร้อยละ 8.23 อัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 23 คน ร้อยละ 1.98

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ขั้นเตรียมการ
1.ประชุมทีมทำงานเจ้าหน้าที่และ อสม.เพื่อค้นหาปัญหาการคัดกรองที่ผ่านมาสรุปแนวทางการแก้ไข จัดทำโครงการ ขั้นดำเนินการ

2.วางแผนการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ที่มีภาวะเสี่ยงสูงประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ร่วมกับเจ้าหน้าที่และอสม.โดยการสร้างกระแสร่วมกันระหว่าง จนท. และอสม.

3.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 100 คน บรรยายเกี่ยวกับการดูแลตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส ทำอย่างไรให้ห่างไกลจากโรค

4.กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย

5.รายงานผลการดำเนินงานต่อที่ประชุมประจำเดือน สรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประจำเดือน สรุปผลการดำเนินงานและวางแผนการพัฒนาต่อ

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 100 คน
(จัด 2 รุ่นๆละ 50 คน)

กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพและคัดกรองเบื้องต้น เช่น ตรวจวัดความดันโลหิตสูง และเจาะระดับน้ำตาลในเลือด บันทึกข้อมูลลงในสมุดประจำตัวของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูง เดือนละ 1 ครั้ง โดยกลุ่มเสี่ยงเเละกลุ่มเสี่ยงสูงประเมินตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี

กิจกรรมที่ 3 คืนข้อมูลสถานะทางสุขภาพของคนในชุมชน และให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน แบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ 30 คน)

กิจกรรมที่ 4 อสม.ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดและประเมินระดับค่าความดันโลหิตสูง (ติดตาม 3 เดือนครั้ง จำนวน 2 ครั้ง)

กิจกรรมที่ 5 คัดเลือก อสม. ต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

พักผ่อนให้เพียงพอ ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขอนามัย ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขลักษณะอนามัย

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคย

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

-

-

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

ขั้นเตรียมการ
1.ประชุมทีมทำงานเจ้าหน้าที่และ อสม.เพื่อค้นหาปัญหาการคัดกรองที่ผ่านมาสรุปแนวทางการแก้ไข จัดทำโครงการ ขั้นดำเนินการ

2.วางแผนการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ที่มีภาวะเสี่ยงสูงประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ร่วมกับเจ้าหน้าที่และอสม.โดยการสร้างกระแสร่วมกันระหว่าง จนท. และอสม.

3.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่กลุ่มเสี่ยงและเสี่ยงสูงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 100 คน บรรยายเกี่ยวกับการดูแลตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส ทำอย่างไรให้ห่างไกลจากโรค

4.กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย

5.รายงานผลการดำเนินงานต่อที่ประชุมประจำเดือน สรุปผลการดำเนินงานที่ประชุมประจำเดือน สรุปผลการดำเนินงานและวางแผนการพัฒนาต่อ

1.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานหรือโรคความดันโลหิตสูง มีทักษะในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้ไม่กลายเป็นผู้ป่วยรายใหม่

2.จำนวนกลุ่มเสี่ยงสูงที่เข้าร่วมโครงการได้เข้าระบบการเฝ้าระวังตนเองตามแนวทางปิงปองจราจร 7 สี และปรับเปลี่ยนตามความเสี่ยงของตนเอง โดยยึดหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 80

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

-

-

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

-

-

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ประจำปี 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-1-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเเมรี เเวฮามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด