กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ


“ โครงการส่งเสริมบริโภคผัก ผลไม้เพื่อสุขภาพเด็กวัยเรียน ลดภาวะทุพโภชนาการ โรงเรียนบ้านกูยิ ”

จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซีอี อาดำ 0841467125

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมบริโภคผัก ผลไม้เพื่อสุขภาพเด็กวัยเรียน ลดภาวะทุพโภชนาการ โรงเรียนบ้านกูยิ

ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2497-2-4 เลขที่ข้อตกลง 5/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 สิงหาคม 2564 ถึง 30 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมบริโภคผัก ผลไม้เพื่อสุขภาพเด็กวัยเรียน ลดภาวะทุพโภชนาการ โรงเรียนบ้านกูยิ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมบริโภคผัก ผลไม้เพื่อสุขภาพเด็กวัยเรียน ลดภาวะทุพโภชนาการ โรงเรียนบ้านกูยิ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมบริโภคผัก ผลไม้เพื่อสุขภาพเด็กวัยเรียน ลดภาวะทุพโภชนาการ โรงเรียนบ้านกูยิ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2497-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 สิงหาคม 2564 - 30 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,630.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะปอเยาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการเกินและภาวะขาดสารอาหารในเด็กไทย เป็นปัญหาสำคัญที่ควรให้ความสำคัญและทุกคนจะต้องร่วมมือกันเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างจริงจัง สาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กไทยวัยเรียน ผอม เตี้ย อ้วนเพราะพฤติกรรมทางโภชนาการและสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ การกินอาหารไม่ครบ 3 มื้อ กินผัก ผลไม้น้อยลง การบริโภคขนมกรุบกรอบและน้ำอัดลมเพิ่มขึ้นและกิจกรรมทางกายและการ ออกกำลังกายน้อยลง ล้วนเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเด็กไทย
ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเผชิญทั้งปัจจุบันปัญหาภาวะโภชนาการเกินและภาวะขาดสารอาหารในเวลาเดียวกันโดยเฉพาะในวัยเด็ก ผลกระทบอันเกิดจากภาวะผอมและเตี้ยของเด็กไทยจะส่งผลต่อภาวะไอคิวของเด็กไทยที่มีค่าเฉลี่ยเพียง 98.59 แม้ว่าจะจัดอยู่ในเกณฑ์ปกติแต่ค่อนข้างไปทางต่ำกว่าค่ากลางมาตรฐานสากลซึ่งควรจะมีไอคิวอยู่ที่ 100 ในขณะที่เด็กเกาหลีใต้, ญี่ปุ่น, จีน และสิงคโปร์อยู่ที่ 105-108 ส่วนผลกระทบความอ้วนในเด็กพบว่า เด็กไทยที่อ้วนเกินครึ่งมีภาวะไขมันในเลือดสูงกว่าปกติ และหนึ่งในสามของเด็กอ้วน จะมีภาวะความดันโลหิตสูงและน้ำตาลในเลือดสูง ที่สำคัญเด็กที่อ้วนจะมีโอกาสโตเป็นผู้ใหญ่อ้วนสูงถึงร้อยละ 30 เมื่อผู้ใหญ่อ้วนจะตามด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กไทยวัยเรียน ผอม เตี้ย หรืออ้วน เพราะพฤติกรรมทางโภชนาการและสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ ซึ่งจากการสำรวจโภชนาการเด็กไทย วัย 6-14ปี จำนวน 1 ใน 5 คน กินอาหารไม่ครบ 3 มื้อ โดยเฉพาะมื้อเช้ามีมากถึงร้อยละ 60ที่ไม่ได้กินเด็กวัย 6- 14 ปี ร้อยละ 68 และ 55 กินผักและผลไม้น้อยกว่า 1 ส่วนต่อวันตามลำดับ ในขณะที่เด็กไทย 1 ใน 3 กินอาหารแป้ง ไขมัน น้ำตาล และโซเดียมสูงเป็นประจำ ที่น่าตกใจเด็กไทยวัยเรียนร้อยละ 49.6กินขนมกรุบกรอบเป็นประจำ ซึ่งขนมกรุบกรอบส่วนมากจะมีไขมัน น้ำตาล โซเดียม และให้พลังงานสูง ส่วนอาหารกลางวันมีเด็กวัยเรียนจำนวนไม่น้อยที่ไม่ได้กิน ถึงได้กินแต่เป็นอาหารกลางวันที่ขาดคุณภาพและไม่เพียงพอ ส่งผลให้เด็กไทยมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการทั้งขาดและเกิน ผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาที่ช้าไม่เต็มตามศักยภาพที่ควรจะเป็น
ด้วยเหตุนี้โรงเรียนบ้านกูยิ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการของนักเรียนจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการบริโภคผัก ผลไม้เพื่อสุขภาพในโรงเรียนขึ้น โดยเน้นที่การปรับอาหารกลางวันของแม่ครัว และเพิ่มให้ในมื้ออาหารนั้นมีสัดส่วนของปริมาณผัก ผลไม้ในกระบวนการทำอาหารกลางวันถูกต้องตามหลักโภชนาการ พร้อมทั้งสร้างความรู้/ความตระหนักให้นักเรียนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพตลอดจนลดการบริโภคน้ำหวานลง และเพิ่มการบริโภคผัก ผลไม้มากขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีของนักเรียนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะในการบริหารจัดการเรื่องการจัดการอาหารและโภชนาการ
  2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเองด้านพฤติกรรมการบริโภคผัก ผลไม้
  3. เพื่อให้นักเรียนบริโภคผัก ผลไม้เพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องบริโภคผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพเด็กวัยเรียน ลดภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 140 คน
  2. จัดบอร์ดนิทรรศการ 2 บอร์ด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคผัก ผลไม้เพิ่มขึ้น ส่งผลต่อสุขภาพโดยรวมของนักเรียนดีขึ้น ได้แก่ ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะซีด และปัญหาเรื่องสุขภาพนั้น ที่มีการพัฒนาและแก้ไขไปพร้อมกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องบริโภคผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพเด็กวัยเรียน ลดภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 140 คน

วันที่ 23 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้เรื่องบริโภคผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพเด็กวัยเรียน ลดภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 140 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีความรู้ ทักษะในการบริหารจัดการเรื่องการจัดการอาหารและโภชนาการ นักเรียนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเองด้านพฤติกรรมการบริโภคผัก ผลไม้ นักเรียนบริโภคผัก ผลไม้เพิ่มขึ้น

 

0 0

2. จัดบอร์ดนิทรรศการ 2 บอร์ด

วันที่ 26 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดบอร์ดนิทรรศการ 2 บอร์ด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีความรู้เรื่องการจัดการอาหารและโภชนาการมากขึ้น นักเรียนสามารถดูแลตนเองด้านพฤติกรรมการบริโภคผัก ผลไม้มากขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะในการบริหารจัดการเรื่องการจัดการอาหารและโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรมมีความรู้หลังการอบรม
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเองด้านพฤติกรรมการบริโภคผัก ผลไม้
ตัวชี้วัด : - นักเรียนจัดทำและขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้ในโรงเรียน อย่างน้อย 1 โครงงาน
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนบริโภคผัก ผลไม้เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : นักเรียนบริโภคผัก ผลไม้เพิ่มมากขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะในการบริหารจัดการเรื่องการจัดการอาหารและโภชนาการ (2) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเองด้านพฤติกรรมการบริโภคผัก ผลไม้ (3) เพื่อให้นักเรียนบริโภคผัก ผลไม้เพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องบริโภคผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพเด็กวัยเรียน ลดภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 140 คน (2) จัดบอร์ดนิทรรศการ 2 บอร์ด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมบริโภคผัก ผลไม้เพื่อสุขภาพเด็กวัยเรียน ลดภาวะทุพโภชนาการ โรงเรียนบ้านกูยิ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2497-2-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซีอี อาดำ 0841467125 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด