กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี


“ โครงการธรรมะสร้างจิต ปิ่นโตสุขภาพ ”

ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสมใจ แก้วประชุม

ชื่อโครงการ โครงการธรรมะสร้างจิต ปิ่นโตสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1464-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 กันยายน 2560 ถึง 14 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการธรรมะสร้างจิต ปิ่นโตสุขภาพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการธรรมะสร้างจิต ปิ่นโตสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการธรรมะสร้างจิต ปิ่นโตสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1464-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 กันยายน 2560 - 14 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลควนธานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คนไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธจึงได้นำหลักคำสอนของพระพุทธเจ้ามาเป็นหลักสำคัญในการดำเนินชีวิตทำให้สังคมไทยสามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขนับตั้งแต่บรรพชน โดยมีวัดเป็นศุนย์กลางในการจัดงานต่างๆ ทั้งทางด้านสังคมสิลปวัฒนธรรมประเพณีวัฒนธรรมประเพณี และกิจกรรมอื่นๆ วัดจึงเป็นศุนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน และมีผลต่อวิถีชีวิตของคนไทยทำให้ผู้ที่ปฏิบัติตามหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า ได้ประพฤติตนเป็นคนดี มีสุขภาพจิตที่ดี โดยสิ่งเหล่านี้จะเกิดไม่ได้หากขาดผู้สืบทอดศาสนา คือ "พระสงฆ์" และสิ่งที่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันคือการถวายอาหารแด่ผู้สิบทอดศาสนานั่นเองซึ่งปัญหาการถวายอาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการได้ถูกหยิบยกขึ้นมาหารือ โดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ออกโรงเตือนเรื่องนี้อย่างจริง และห่วงใยว่าหากไม่มีการพัฒนากระบวนการส่งเสริมและดูแลพระสงฆ์ในด้านสุขภาพ จะทำให้กลไกการสืบทอดพุทธศาสนาและการพัฒนาความดีงามด้านคุณธรรมจริยธรรมที่สำคัญของประเทสไทยอ่อนแอลง ที่ผ่านมาประชาชนมักนำอาหารที่ทำร้ายสุขภาพไปถวายพระท่าน ไม่ว่าจะเป็นอาหารคาวหรือหวาน จะไม่พ้นส่วนประกอบที่เป็นกะทิ กลุ่มโปรตีน อาหารมัน ของผัด ของทอด บางครั้งเป็นของดีของแพงแต่ไม่ถูกหลักโภชนาการ แต่อาหารดั้งเดิมที่ให้ประโยชน์จำพวกแกงส้มแกงเลียง น้ำพริกผักลวก ไม่ค่อยถูกนำไปถวาย ส่วนหนึ่งคงเพราะวิธีการทำยุ่งยาก แถมยังถวายขนมที่มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบสูง จำพวกทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง หม้อแกง ส่งผลให้ให้พระท่านได้รับไขมัน น้ำตาล โซเดียม หรือเกลือเกินความจำเป็น นั่นเท่ากับว่ามีแต่เอาเข้าแต่ไม่ได้เอาออก เพราะท่านไม่ได้มีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกายมากนัก จึงน่าเป็นห่วงในเรื่องในเรื่องพระสงฆ์ไทยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเยอะมากขึ้น ประชากรส่วนใหญ่ของตำบลควนธานีนับถือศาสนาพุทธการกระตุ้นเตือนให้พุทธศาสนิกชนภายในตำบลได้ตระหนักและให้ความสำคัญในการทำอาหารหรือเลือกซื้ออาหารมาถวายแด่พระภิกษุสงฆ์ที่จะต้องเน้นให้ถูกหลักและมีคุณค่าทางโภชนาการมีประโยชน์ต่อพระสงฆ์ซึ่งเป็นผู้สืบทอดพุทธศาสนาคณะทำงานศูนย์พัฒนาครอบครัวและเครือข่ายพัฒนาสังคมตำบลควนธานี จึงได้จัดทำโครงการธรรมะสร้างจิต ปิ่นโตสุขภาพ ประจำปี 2560 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนหันมาสนใจธรรมะขึ้นควบคู่กับการเข้าถึงวิถีการกินดีที่ถูกต้องได้รับประโยชน์ทำให้สุขภาพกายดี
  2. เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงอาหาร การกินที่ดีมีประโยชน์ไม่ตามกระแสความเจริญ กินอาหารจนเกิดโรค
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สืบทอดศาสนา "พระสงฆ์" ได้รับอาหารที่มีประโยชน์ถูกต้องตามหลักโภชนาการ สามารถสร้างกลไกการสืบทอดศาสนามีความเข้มแข็งขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนหันมาสนใจธรรมะมากขึ้น และเข้าถึงวิถีการกินดีที่ถูกต้องได้รับประโยชน์ทำให้สุขภาพกายดี 2.ประชาชนมีความตระหนักถึงอาหารการกินที่ดีมีประโยชน์ไม่ตามกระแสความเจริญการกินอาหารจนเกิดโรค 3.ผู้สืบทอดศาสนา "พระสงฆ์" ได้รับอาหารที่มีประโยชน์ถูกต้องตามหลักโภชนาการ สามารถสร้างกลไกการสืบทอดศาสนามีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรม 2 กิจกรรม คือ 1.จัดกิจกรรมนำธรรมะสร้างสุขภาพจิต มีการฝึกสมาธิ การประกวดปิ่นโตสุขภาพ ฟังพระธรรมเทศนา 2.กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารถูกหลักโภชนาการ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนหันมาสนใจธรรมะขึ้นควบคู่กับการเข้าถึงวิถีการกินดีที่ถูกต้องได้รับประโยชน์ทำให้สุขภาพกายดี
    ตัวชี้วัด : 1.มีผู้เข้าร่วมโครงการมากกว่าร้อยละ 90

     

    2 เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงอาหาร การกินที่ดีมีประโยชน์ไม่ตามกระแสความเจริญ กินอาหารจนเกิดโรค
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สืบทอดศาสนา "พระสงฆ์" ได้รับอาหารที่มีประโยชน์ถูกต้องตามหลักโภชนาการ สามารถสร้างกลไกการสืบทอดศาสนามีความเข้มแข็งขึ้น
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมการประกวดปิ่นโตสุขภาพมากกว่าร้อยละ 50 ของผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 2.พระสงฆ์ได้รับอาหารที่มีประโยชน์และถูกต้องตามหลักโภชนาการ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนหันมาสนใจธรรมะขึ้นควบคู่กับการเข้าถึงวิถีการกินดีที่ถูกต้องได้รับประโยชน์ทำให้สุขภาพกายดี (2) เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงอาหาร การกินที่ดีมีประโยชน์ไม่ตามกระแสความเจริญ กินอาหารจนเกิดโรค (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สืบทอดศาสนา "พระสงฆ์" ได้รับอาหารที่มีประโยชน์ถูกต้องตามหลักโภชนาการ สามารถสร้างกลไกการสืบทอดศาสนามีความเข้มแข็งขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการธรรมะสร้างจิต ปิ่นโตสุขภาพ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L1464-2-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสมใจ แก้วประชุม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด