กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต


“ โครงการสุขภาพดีเริ่มที่วัคซีน ปี 2564 ”

ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางบงกช อาดำ

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดีเริ่มที่วัคซีน ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4119-1-4 เลขที่ข้อตกลง 4/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดีเริ่มที่วัคซีน ปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดีเริ่มที่วัคซีน ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดีเริ่มที่วัคซีน ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารโต อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4119-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ธารโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคป้องกันด้วยวัคซีนเป็นโรคติดเชื้อเฉียบพลันที่เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญในอดีต ในปี พ.ศ.2520 กระทรวงสาธารณสุขได้เริ่มใช้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคระดับประเทศ ทำให้อุบัติการณ์ของโรคคอตีบลดลงอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดีถึงแม้ว่าอุบัติการณ์ของโรคคอตีบ จะลดลงอย่างมากเมื่อเทียบกับในอดีต แต่ยังคงพบรายงานการระบาดของโรคคอตีบอยู่เสมอ เช่น บริเวณที่ติดกับชายแดนระหว่างประเทศ บริเวณที่มีความยากลำบากในการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค รวมถึงในประชากรกลุ่มอายุที่คาดว่าจะไม่ได้รับวัคซีนในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มโรค ซึ่งเหตุการณ์การระบาดเหล่านี้ก่อให้เกิดความเสี่ยงที่ทำให้เกิดการระบาดขยายวงกว้าง การจัดการเพื่อควบคุมการระบาดให้รวดเร็วที่สุดและเตรียมความพร้อมป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาในพื้นที่อื่นจึงมีความจำเป็นอย่างสูง ซึ่งโรคคอตีบเป็นโรคที่พบการระบาดเป็นช่วงๆโดยตั้งเเต่ปี 2520 ผู้ป่วยโรคคอตีบมีจำนวนลดลงจาก2,290 ราย เหลือไม่เกินปีละ 10 ราย ในช่วงระหว่างปี 2548 -2551 แต่หลังจากปี 2552-2554 จำนวนผู้ป่วยกลับเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 12-77 ราย โดยในช่วงที่มีการระบาดในปี 2555มีผู้ป่วยจำนวน 63 ราย ซึ่งกระทรวงสาธารรสุขได้ให้วัคซีนเพื่อควบคุมการระบาดของโรคคอตีบในเด็กและผู้ใหญ่เป็นจำนวนมาก หลังจากนั้นผู้ป่วยเริ่มลดลงเหลือ 29 ราย ในปี 2556 ส่วนปีนี้ข้อมูลการเฝ้าระวังโรคของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ณ วันที่13 มีนาคม 2557 มีผู้ป่วยจำนวน 4 ราย เสียชีวิต 1 ราย ด้วยสถานการณ์ผู้ป่วยคอตีบที่ไม่แน่นอน และยังมีตัวเลขขึ้นลงตลอด ซึ่งการระบาดในแต่ละครั้งของโรคคอตีบมักจะพบในเด็กที่ยังไม่ได้วัคซีนหรือยังได้วัคซีนไม่ครบ และในกลุ่มคนที่มีประวัติได้รับวัคซีนไม่ครบถ้วนหรือไม่ได้รับวัคซีนกระตุ้นในเด็กวัยรุ่นและผู้ใหญ่ ทำให้ไม่มีภูมิคุ้มกันที่จะป้องกันโรคได้โดยเมื่อปลายปีที่ผ่านมาประเทศไทยได้เกิดการระบาดของโรคคอตีบ โดยพบมากที่สุดในจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและกว่า 5 ปี และในผู้ใหญ่ที่อายุมากกว่า 40 ปี จะมีอัตราเสี่ยงในการเสียชีวิตสูงกว่ากลุ่มอื่นซึ่งภาคใต้เป็นพื้นที่ที่มีการเคลื่อนย้ายเข้ามาของแรงงานอพยพจากหลายพื้นที่ทั้งแรงงานต่างด้าวเเละเเรงงานจากภููมิภาคอื่นของประเทศ ทำให้กลุ่มเด็กที่ย้ายตามผู้ปกครองจึงไม่ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันด้วยวัคซีนตามเกณฑ์หรือมีบางส่วนไม่ได้รับวัคซีนเลย ในเขตของพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริ่มสุขภาพตำบลบ้านศรีท่าน้ำ อำเภอธารโต จังหวัดยะลา พบว่าเขตพื้นที่อำเภอธารโตได้มีเด็กป่วยด้วยโรคไอกรน 1 ราย และพื้นที่ใก้ลเคียงเช่น บังนังสตา ได้มีเด็กป่วยโรคไอกรน 9 รายเเละโรคคอตีบ 2 ราย ประกอบกับเป็นพื้นที่ชายแดนที่การเข้า ออกของเด็กต่างถิ่นโอกาสที่จะสัมผัสและระบาดได้สูง เเละจากการดำเนินงานพบว่าเด็กที่มีอายุ 1 ปีครึ่ง 5 ปี มีอัตราการรับวัคซีนต่ำ ไม่ครอบคลุมเป้าหมาย และยังพบเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และน้ำหนักค่อนข้างน้อยมีจำนวนเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นการเร่งรัดและกระตุ้นให้ผู้ปกครองมีความตระหนักเห็นความสำคัญ เพื่อให้เด็กได้รับวัคซีนครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายน้ำหนักตามเกณฑ์และพัมนาการสมวัย ลดอัตราการป่วยหรือตายจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งกลุ่มเด็กเหล่านี้จะได้โตเป็นผู้ใหญที่มีคุณภาพที่มีความสมบูรณ์ทั้งทวงสติปัญญา ร่างกายที่ดีเเละแข็งเเรงมีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองนำบุตรหลานรับวัคซีนครบชุดตามวัย
  2. 2.เพื่อส่งเสริมให้ชุมชน องค์กรท้องถิ่นสนับสนุนมีส่วนร่วมการแก้ปัญหาการรับวัคซีนในเด็ก
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโรคในเด็กและความรู้ในการดูเเลด้านอาหารตามวัยได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ร้อยละ 90 เด็ก 0-5 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์ 2.ผู้ปกครองมีความรู้ที่ถูกต้องและเกิดความตระหนักในเรื่องวัคซีน 3.เกิดกิจกรรมรณรงค์การรับวัคซีนในพื้นที่ โดยมีอสม.แกนนำ และภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม 4.สามารถป้องกันและควบคุมโรค จากโรคที่สามารถป้องกันด้วยการรับวัคซีน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองนำบุตรหลานรับวัคซีนครบชุดตามวัย
    ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-5 ปีได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ ร้อยละ 60
    0.00

     

    2 2.เพื่อส่งเสริมให้ชุมชน องค์กรท้องถิ่นสนับสนุนมีส่วนร่วมการแก้ปัญหาการรับวัคซีนในเด็ก
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ70 ชุมชน องค์กรท้องถิ่นสนับสนุนมีส่วนร่วมการแก้ปัญหาการรับวัคซีนในเด็ก
    0.00

     

    3 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโรคในเด็กและความรู้ในการดูเเลด้านอาหารตามวัยได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโรคในเด็กและความรู้ในการดูแลด้านอาหารตามวัยได้
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองนำบุตรหลานรับวัคซีนครบชุดตามวัย (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้ชุมชน องค์กรท้องถิ่นสนับสนุนมีส่วนร่วมการแก้ปัญหาการรับวัคซีนในเด็ก (3) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับวัคซีนป้องกันโรคในเด็กและความรู้ในการดูเเลด้านอาหารตามวัยได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสุขภาพดีเริ่มที่วัคซีน ปี 2564 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 64-L4119-1-4

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางบงกช อาดำ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด