กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการรู้ก่อน เตือนภัย ห่างไกลอุจจาระร่วง ”

ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 1 , 4, 6, 7,9 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุใดเจริญ

ชื่อโครงการ โครงการรู้ก่อน เตือนภัย ห่างไกลอุจจาระร่วง

ที่อยู่ ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 1 , 4, 6, 7,9 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5282-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 สิงหาคม 2560 ถึง 15 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ก่อน เตือนภัย ห่างไกลอุจจาระร่วง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 1 , 4, 6, 7,9 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ก่อน เตือนภัย ห่างไกลอุจจาระร่วง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ก่อน เตือนภัย ห่างไกลอุจจาระร่วง " ดำเนินการในพื้นที่ ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 1 , 4, 6, 7,9 ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5282-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 สิงหาคม 2560 - 15 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคอุจจาระร่วงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญอีกปัญหาหนึ่งของประเทศไทย ในแต่ละปีมีรายงานผู้ป่วยตลอดทั้งปี ส่วนใหญ่มีการระบาดเป็นวงกว้างทำให้มีผู้ป่วยจำนวนมาก และอาการของโรคอาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง เช่น ไตวาย หรือถึงแก่ชีวิตได้ โดยเฉพาะในเด็กเล็กและผู้สูงอายุ นอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุที่สำคัญของการใช้ยาอย่างไม่เหมาะสม โดยเฉพาะยาต้านจุลชีพ ทำให้มีการเสียค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็น และยังนำไปสู่การเกิดเชื้อจุลชีพดื้อยา สาเหตุมักเกิดสารพิษหรือเชื้อโรค ซึ่งอาจจะมีอยู่ตั้งแต่แรก ในอาหาร น้ำ หรือปนเปื้อนภายหลังจากสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของสุขอนามัยส่วนบุคคล ผู้ที่ป่วยเป็นโรคดังกล่าวสามารถแพร่เชื้อได้ทางอุจจาระ และหากเป็นผู้ประกอบอาหาร หรือพนักงานเสิร์ฟอาหารจะมีโอกาสแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้มาก โรคอุจจาระร่วงจึงเป็นโรคติดต่ออีกโรคหนึ่งที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ไข จากการวิเคราะห์สถานการณ์การระบาดโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญ (หมู่ที่ 1,4,6,7,9) ในระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา (2557-2560) พบว่า 5 อันดับโรคที่มีการระบาดในพื้นที่ ได้แก่ โรคอุจจาระร่วง โรคปอดบวม โรคสุกใส โรคตาแดง และโรคมือเท้าปาก ตามลำดับ และในปี 2560 ที่ผ่านมาพบว่ามีโรคที่รบาดในพื้นที่ 5 อันดับโรค ดังนี้ โรคอุจจาระร่วง โรคมือเท้าปาก โรคปอดบวม และโรคสุกใสและโรคตาแดง โดยมีอัตราป่วย 591.56,107.56,80.67,53.78,และ 53.78 ตามลำดับ และพบว่ากลุ่มอายุที่พบผู้ป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงมากที่สุด คือกลุ่ม อายุ 0-5 ปี และ 60 ปีขึ้นไป เมือพิจารณาปัจจัยที่ทำให้เกิดการระบาดพบว่า น่าจะมีส่วนหนึ่งมาจากภาวะภูมิต้านทานในกลุ่มประชาชนลดน้อยลง ซึ่งกลุ่มที่พบผู้ป่วยมากที่สุดเป็นกลุ่มเด็กเล็ก ที่มีความต้านทานต่อโรคต่ำ ทำให้ไวต่อการเกิดโรค ทั้งนี้อาจเกิดจากอาหารและนมในโรงเรียน รวมถึงสุขาภิบาลอาหารในครัวเรือนและในกลุ่มผู้สูงอายุ แหล่งที่เกิดโรคมักเกิดในที่ชุมชนที่อยู่กันอย่างหนาแน่น และในพื้นที่ที่มีการสุขาภิบาลไม่ดีไม่มีน้ำสะอาดใช้อย่างเพียงพอ ไม่มีส้วมที่ถูกสุขลักษณะ ดังนั้นการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคจึงควรให้ความสำคัญในเรื่องของการเฝ้าระวังป้องกันโรคในภาวะปกติ และการควบคุมโรคในภาวะที่มีการระบาด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการลดโรคอุจจาระร่วงอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพต่อไป จากสภาพปัญหาดังกล่าว ผู้รับผิดชอบงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุใดเจริญ ได้ตระหนักและให้ความสำคัญกับการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงจึงได้จัดทำโครงการ รู้ก่อน เตือนภัย ห่างไกลโรคอุจจาระร่วงขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อลดอัตราป่วยที่เกิดจากโรคอุจจาระร่วง
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 100
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็กอายุ 0-5 ปี และผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป มีอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงลดน้อยลง 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วงเพิ่มมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดอบรมกลุ่มเป้าหมาย

    วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายได้รับรู้สุขภาวะของตน มีความตระหนักในเรื่องสุขภาพขึ้น กลุ่มเป้าหมายได้เข้าถึงการบริการสุขภาพ และมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคอุจจาระร่วง

     

    200 214

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จากการจัดอบรมโครงการรู้ก่อน เตือนภัย ห่างไกลโรคอุจจาระร่วง  มีผู้เข้าร่วมการอบรมทั้งหมดร้อยละ 107.5 ซึ่งเกินกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ที่จำนวน 200 คน และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 52.6 ซึ่งเกินกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ที่ร้อยละ 50

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อลดอัตราป่วยที่เกิดจากโรคอุจจาระร่วง
    ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 20
    52.60

     

    2 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง
    ตัวชี้วัด : 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง เพิ่มขึ้นร้อยละ 50
    52.60

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 100
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดอัตราป่วยที่เกิดจากโรคอุจจาระร่วง (2) 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคอุจจาระร่วง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรู้ก่อน เตือนภัย ห่างไกลอุจจาระร่วง จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5282-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอุใดเจริญ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด