กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปล่องหอย


“ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาวะชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลปล่องหอย ”

ตำบลปล่องหอย อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี และจังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลวายะโยะ

ชื่อโครงการ โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาวะชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลปล่องหอย

ที่อยู่ ตำบลปล่องหอย อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี และจังหวัดพัทลุง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 001/2560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 ธันวาคม 2559 ถึง 22 ธันวาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาวะชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลปล่องหอย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปล่องหอย อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี และจังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปล่องหอย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาวะชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลปล่องหอย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาวะชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลปล่องหอย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปล่องหอย อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี และจังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 001/2560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 ธันวาคม 2559 - 22 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปล่องหอย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านสุขภาพของคนไทยในปัจจุบัน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองตลอดจนกาารใช้เทคโนโลยีต่างๆ ทำให้เกิดผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อม และวิถีชีวิต แนวโน้ม ของการเกิดโรค ส่วนใหญ่มาจากปัญหาทางสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมเสี่ยง ดังนั้น จึงต้องมีการพัฒนาศักยภาพคนด้านสุขภาพและพลานามัย ระบบการบริหารจัดการด้านสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพให้เกิดความเข้มแข็งและยังยืน เพื่อตอบสนองต่อภาวะทางสุขภาพ และปัญหาชุมชนที่ สลับซับซ้อนในอนาคต กองทุนหลักประกันสุขภาพฯตำบลปล่องหอยได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาสาธารณสุขและคุณภาพชีวิตที่ดีของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงได้จัดทำโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาวะชมรมอสม.ประจำปีงบประมาณ 2560 เพื่อพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงานของ อสม. ให้มีความรู้และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับ ประชาชนในชุมชนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ อสม. มีความรู้และพัฒนาด้านสาธารณสุข สามารถถ่ายทอดความรู้สู่ องค์กร และประชาชนในชุมชน
  2. เพื่อให้ อสม. สามารถดูแลตนเอง ครอบครัว พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน สาธารณสุขมูลฐานในชุมชน ตลอดจนการให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อให้ อสม. เกิดความร่วมมือและมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆซึ่งส่งผลให้การดำรงชีวิตในสังคมเป็นไปอย่างปกติสุข ด้วยความสมัครใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 120
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่องานสาธารณสุข มูลฐานและ มีศักยภาพในการแก้ปัญหาสาธารณสุขทที่จำเป็นได้
    2. อาสาสมัครสาธารณสุข สามารถปฏิบัติงาน และดำเนินกิจกรรมพัฒนา รูปแบบงานสาธารณสุขมูลฐานอย่างมีประสิทธิภาพพร้อมทั้งดูแลตนเอง ครอบครัว และประชาชนในชุมชน
    3. เกิดความร่วมมือขององค์กรในชุมชนทุกระดับ โดยความสมัครใจในกิจกรรม ต่างๆ เกิดพลังและความเข้มแข็ง ความยั่งยืน และสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ อสม. มีความรู้และพัฒนาด้านสาธารณสุข สามารถถ่ายทอดความรู้สู่ องค์กร และประชาชนในชุมชน
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่องานสาธารณสุข มูลฐานและมีศักยภาพในการแก้ปัญหาสาธารณสุขที่จำเป็นได้

     

    2 เพื่อให้ อสม. สามารถดูแลตนเอง ครอบครัว พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน สาธารณสุขมูลฐานในชุมชน ตลอดจนการให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุข สามารถปฏิบัติงาน และดำเนินกิจกรรมพัฒนา รูปแบบงานสาธารณสุขมูลฐานอย่างมีประสิทธิภาพพร้อมทั้งดูแลตนเอง ครอบครัว และประชาชนในชุมชน

     

    3 เพื่อให้ อสม. เกิดความร่วมมือและมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆซึ่งส่งผลให้การดำรงชีวิตในสังคมเป็นไปอย่างปกติสุข ด้วยความสมัครใจ
    ตัวชี้วัด : เกิดความร่วมมือขององค์กรในชุมชนทุกระดับ โดยความสมัครใจในกิจกรรม ต่างๆ เกิดพลังและความเข้มแข็ง ความยั่งยืน และสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 120
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม. มีความรู้และพัฒนาด้านสาธารณสุข สามารถถ่ายทอดความรู้สู่ องค์กร และประชาชนในชุมชน (2) เพื่อให้ อสม. สามารถดูแลตนเอง ครอบครัว พัฒนารูปแบบการดำเนินงาน สาธารณสุขมูลฐานในชุมชน ตลอดจนการให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้ อสม. เกิดความร่วมมือและมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆซึ่งส่งผลให้การดำรงชีวิตในสังคมเป็นไปอย่างปกติสุข ด้วยความสมัครใจ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสุขภาวะชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลปล่องหอย จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 001/2560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอับดุลวายะโยะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด