กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย


“ โครงการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี ๒๕๖๐ ”

ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายปรีดี เรืองพูน

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี ๒๕๖๐

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 52816001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี ๒๕๖๐ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี ๒๕๖๐



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 52816001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนุ้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามนโยบายรัฐบาล ได้มีมติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๙ มอบภาระกิจการจัดการขยะให้เป็นหน้าที่หลักของหลักประกันสุขภาพองค์กรปกครองท้องถิ่น ปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติการของกระทรวงมหาดไทย “ ประเทศไทย ไร้ขยะ” ตามแนวทางประชารัฐ
กระทรวงมหาดไทยโดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้กำหนดแนวทางการปฏิบัติงานด้านการบริหารขยะมูลฝอย “ จังหวัดสะอาด” โดยมีเป้าหมาย ๑. ปริมาณขยะมูลฝอยที่เข้าสู่ระบบการจัดการปลายทางลดลง ๒. ขยะอันตรายในชุมชนได้รับการคัดแยก ๓. ทุกพื้นที่ทุกภาคส่วนภายใต้หลักประชารัฐมีการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย ๔. ขยะมูลฝอย ให้หมู่บ้าน/ชุมชน ต้นแบบ ลดและคัดแยกขยะมูลฝอย ๕. มีการนำขยะมูลฝอยไปใช้ให้เกิดประโยชน์และสร้างมูลค่า จังหวัดสตูลได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนหลัก 3Rs –ประชารัฐ ระหว่างจังหวัดสตูลกับองค์กรปกครองท้องถิ่นทั้ง ๔๑ แห่ง เรียบร้อยแล้วตั้งแต่วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ และได้ออกคำสั่งจังหวัดสตูลที่๑๔๔๗/๒๕๕๙ เรื่องการแต่งตั้งคณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน “ จังหวัดสะอาด” ระดับจังหวัด ตั้งแต่วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๙ ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายรัฐบาลตามแผนปฏิบัติการของกระทรวงมหาดไทย เพื่อให้ลดขยะปลายทาง ตามเป้าหมายสู่ความสำเร็จ จำเป็นต้องลดขยะต้นทางอันเป็นต้นเหตุการณ์เพิ่มปริมาณของขยะแห้งและขยะเปียก และให้องค์กรปกครองท้องถิ่นขยายผลไปสู่ชุมชน/หมู่บ้าน และสู่ครัวเรือน โดยการคัดแยกขยะแห้งไปใช้ประโยชน์หรือจำหน่ายเป็นรายได้ สำหรับขยะเปียกให้นำจุลินทรี มาย่อยสลายกลายเป็นน้ำหมักชีวภาพ นำไปเป็นปุ๋ยน้ำ ใช้ประโยชน์ในการเกษตรกรรมปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือนและชะระงับกลิ่น ป้องกันเชื้อโรค กำจัดแมลงวันและยุงต่อไป สำหรับขยะอันตรายก็จะมีการจัดเก็บให้ถูกสุขลักษณะและนำไปกำจัดทิ้งตามวิธีการ สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสตูลร่วมกับสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสตูล สำนักงานสาธารณสุข และสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสตูล ได้ร่วมกันจัดทำโครงการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rsดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนบ่อทองจึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาด ประจำปี ๒๕๖๐

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้องค์กรปกครองท้องถิ่นลดขยะแห้งและขยะเปียกจากต้นทาง และนำมาใช้ประโยชน์ลดภาระค่าใช้จ่ายขององค์กรปกครองท้องถิ่น
  2. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนคำนึงถึงอันตรายที่เกิดจากขยะมูลฝอยทั่วไปและขยะมีพิษอันตรายและทำการคัดแยกและจัดทำสถานที่รวบรวมขยะอันตรายไว้ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน
  3. เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และรู้จักวิธีใช้ประโยชน์จากขยะเหลือใช้ และขยะมูลฝอยที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อเนื่องได้
  4. เพื่อนำผลที่ได้จากการคัดแยกขยะ ย่อยขยะในครัวเรือนไปใช้ประโยชน์ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ให้ตนเองและครอบครัว ชุมชน/หมู่บ้าน ตามหลักพึ่งพาตนเองต่อไป
  5. เพื่อนำไปสู่เป้าหมายตามนโยบายจังหวัดสตูล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 160
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ลดขยะแห้งและขยะเปียกปลายทาง โดยการคัดแยกขยะและนำไปใช้ประโยชน์ในครัวเรือนเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายในครัวเรือน ๒. ผู้นำชุมชน อสม. และเจ้าหน้าที่ นำความรู้ที่ได้ไปขยายต่อให้กับประชาชนในหมู่บ้าน ๓.ประชาชน และชุมชน/หมู่บ้าน ได้เรียนรู้ รับทราบการคัดแยก การเก็บ การทิ้งขยะเหลือในถังขยะ ให้ถูกต้องและถูกวิธีลดขยะต้นทางในครัวเรือนต่อไป ๔.สร้างจิตสำนึกให้รู้คุณค่าของขยะและสิ่งของที่เหลือใช้ ให้ระลึกอยู่เสมอว่าขยะคือสิ่งที่มีคุณค่าและราคา นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและครัวเรือน ๕.ลดขยะปลายทางตามนโยบายรัฐบาลและนโยบายกระทรวงมหาดไทย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้ตามแผนปฏิบัติการและลดขยะแบบยั่งยืน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน, อสม. ประชาชนในทุกหมู่บ้าน

    วันที่ 24 สิงหาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    รายงานผลติดตามได้ที่กองทุน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานผลติดตามได้ที่กองทุน

     

    160 0

    2. ออกติดตามเยี่ยมประเมินผล

    วันที่ 23 เมษายน 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    รายงานผลติดตามได้ที่กองทุน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานผลติดตามได้ที่กองทุน

     

    5 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    รายงานผลติดตามได้ที่กองทุน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้องค์กรปกครองท้องถิ่นลดขยะแห้งและขยะเปียกจากต้นทาง และนำมาใช้ประโยชน์ลดภาระค่าใช้จ่ายขององค์กรปกครองท้องถิ่น
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนคำนึงถึงอันตรายที่เกิดจากขยะมูลฝอยทั่วไปและขยะมีพิษอันตรายและทำการคัดแยกและจัดทำสถานที่รวบรวมขยะอันตรายไว้ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และรู้จักวิธีใช้ประโยชน์จากขยะเหลือใช้ และขยะมูลฝอยที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อเนื่องได้
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อนำผลที่ได้จากการคัดแยกขยะ ย่อยขยะในครัวเรือนไปใช้ประโยชน์ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ให้ตนเองและครอบครัว ชุมชน/หมู่บ้าน ตามหลักพึ่งพาตนเองต่อไป
    ตัวชี้วัด :

     

    5 เพื่อนำไปสู่เป้าหมายตามนโยบายจังหวัดสตูล
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 160
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้องค์กรปกครองท้องถิ่นลดขยะแห้งและขยะเปียกจากต้นทาง และนำมาใช้ประโยชน์ลดภาระค่าใช้จ่ายขององค์กรปกครองท้องถิ่น (2) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนคำนึงถึงอันตรายที่เกิดจากขยะมูลฝอยทั่วไปและขยะมีพิษอันตรายและทำการคัดแยกและจัดทำสถานที่รวบรวมขยะอันตรายไว้ทุกหมู่บ้าน/ชุมชน (3) เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และรู้จักวิธีใช้ประโยชน์จากขยะเหลือใช้ และขยะมูลฝอยที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ต่อเนื่องได้ (4) เพื่อนำผลที่ได้จากการคัดแยกขยะ ย่อยขยะในครัวเรือนไปใช้ประโยชน์ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ให้ตนเองและครอบครัว ชุมชน/หมู่บ้าน ตามหลักพึ่งพาตนเองต่อไป (5) เพื่อนำไปสู่เป้าหมายตามนโยบายจังหวัดสตูล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการบริหารจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อเป็นจังหวัดสตูลสะอาดแบบยั่งยืน ประจำปี ๒๕๖๐ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 52816001

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายปรีดี เรืองพูน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด