กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจำลอง อินนุรักษ์

ชื่อโครงการ โครงการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2564-L3306-2-29 เลขที่ข้อตกลง 22/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 20 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2564-L3306-2-29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 20 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วงฤดูฝนมักมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกเป็นจำนวนมากในทุกภาคของประเทศไทย สาเหตุของการเกิดโรคไข้เลือดออกเกิดจากเชื้อไวรัสเด็งกี่(Dengue) เชื้อไวรัสชิคุนกุนย่า(Chikungunya) เป็นสาเหตุของโรคซึ่งปัจจุบันจากการตรวจสอบจากห้องปฏิบัติการพบว่าเชื้อไวรัสเด็งกี่มี 4 ชนิดเชื้อดังกล่าวสามารถทำให้เลือดออกรุนแรงได้ ดังนั้นเมื่อเชื้อตัวใดตัวหนึ่งเข้าสู่ร่างกายจะทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต้านทานต่อเชื้อตัวนั้นอย่างถาวรและยังต่อต้านข้ามไปเชื้ออื่นๆอีก 3 ชนิดแต่อยู่ไม่ถาวร โดยทั่วไปอยู่ได้นาน 6-12 เดือน หลังระยะนี้แล้ว คนที่เคยติดเชื้อเด็งกี่ชนิดหนึ่ง อาจติดเชื้อเด็งกี่ชนิดอื่นต่างจากครั้งแรกก็ได้ถือเป็นการติดเชื้อครั้งที่สอง การติดเชื้อซ้ำๆเชื่อกันว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดโรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออกถือว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญมากเพราะมีผู้ป่วยป่วยและตายจำนวนมากในแต่ละปีเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะ การระบาดตลอดปีและพบมากในช่วงฤดูฝน ยุงลายชอบวางไข่ในแหล่งที่มนุษย์สร้างขึ้น จากสถิติปี สอ.พบผู้ป่วยจำนวน และในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระ ซึ่งประกอบด้วยบ้านโล๊ะจังกระ ประกอบด้วย หมู่ที่ 5 บ้านคลองเฉลิม, หมู่ที่ 9 บ้านโล๊ะจังกระ และหมู่ที่ 10 บ้านในควน ซึ่งในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระ พบผู้ป่วยจำนวน 2 ราย
จากการเก็บรวบรวมข้อมูลของอาสาสมัครสาธารณสุข ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระ โดยการสำรวจค่า BI CI และ HI พบว่าทั้ง 3 หมู่บ้าน ยังมีปัญหาอยู่มาก ปัญหาที่เราต้องเร่งแก้ปัญหาคือ โรคไข้เลือดออก เพราะจากการสำรวจดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายยังพบว่ามีความชุกของลูกน้ำในเกณฑ์ที่สูงคือค่า HI เท่ากับ 30.26 เพราะประชาชนส่วนใหญ่ไม่ค่อยให้ความสนใจในการป้องกัน คิดว่าการป้องกันโรคเป็นหน้าที่ของฝ่ายสาธารณสุข ดังนั้นกองทุนอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระ จึงตระหนักถึงสาเหตุของปัญหา หากไม่มีการควบคุมกำจัดลูกน้ำยุงลายให้ถูกต้องทันทีจะมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโล๊ะจังกระ จนอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตของประชาชนเพิ่มจำนวนขึ้นอีกก็เป็นได้   ดังนั้นจึงจำเป็นที่เราจะต้องป้องกันและรณรงค์ให้ทุกคนตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยวิธีกำจัดลูกน้ำยุงลาย และกำจัดตัวยุงลายทั้งวิธีกายภาพ  และชีวภาพและทางเคมีในบ้าน วัดและโรงเรียน ดังนั้นโอกาสที่จะเกิดไข้เลือดออกก็จะลดน้อยลงด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย และยุงลายพาหะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน และสถานบริการสาธารณสุข
  2. 2.เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน ตื่นกลัวและตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
  3. 3.เพื่อลดอัตราการป่วยและลดอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกได้ไม่เกิน 20 ต่อแสนประชาชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. รณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
  3. พ่นหมอกควันใน ศพด.
  4. ประชุมสรุปผลฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ๒. ลดอัตราป่วยและอัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ ๓. ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนัก และร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ
๔. ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมและป้องกันโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 1 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ให้ความรู้กับผู้เข้าร่วมโครงการ

 

333 0

2. รณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

วันที่ 1 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

300 0

3. พ่นหมอกควันใน ศพด.

วันที่ 29 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พ่นหมอกควันใน ศพด.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้พ่นหมอกควันใน ศพด.ครั้งที่ 1 ได้พ่นหมอกควันใน ศพด.ครั้งที่ 2 ได้พ่นหมอกควันใน ศพด.ครั้งที่ 3 ได้พ่นหมอกควันใน ศพด.ครั้งที่ 4

 

0 0

4. ประชุมสรุปผลฯ

วันที่ 11 สิงหาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสรุปผลฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมสรุปผลฯ

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย และยุงลายพาหะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียน และสถานบริการสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : - ดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลาย มีค่า ≤10
0.00

 

2 2.เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน ตื่นกลัวและตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : - ดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลาย มีค่า ≤10 - อัตราการเกิดโรคลดลง
0.00

 

3 3.เพื่อลดอัตราการป่วยและลดอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกได้ไม่เกิน 20 ต่อแสนประชาชน
ตัวชี้วัด : - อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 20 ต่อแสนประชากร - อัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกเป็น 0
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย  และยุงลายพาหะนำโรคในบ้าน  ชุมชน    โรงเรียน  และสถานบริการสาธารณสุข (2) 2.เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน ตื่นกลัวและตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก (3) 3.เพื่อลดอัตราการป่วยและลดอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกได้ไม่เกิน 20 ต่อแสนประชาชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) รณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) พ่นหมอกควันใน ศพด. (4) ประชุมสรุปผลฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2564-L3306-2-29

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจำลอง อินนุรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด