กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง


“ โครงการเฝ้าระวังดูแลผู้เข้าข่ายต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุนิสา ยี่สุ่นทรง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังดูแลผู้เข้าข่ายต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4131-5-02 เลขที่ข้อตกลง 34/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังดูแลผู้เข้าข่ายต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังดูแลผู้เข้าข่ายต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังดูแลผู้เข้าข่ายต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4131-5-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นโรคติดต่อร้ายแรงที่ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเสียบพลัน ปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน ในช่วงเดือนธันวาคม ปี 2562 ปัจจุบันโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้มีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องและส่งกระทบแก่หลายประเทศทั่วโลก จากข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 21 เมษายน 2564 มีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลกรวม 217 ประเทศ 2 เขตบริหารพิเศษและ 2 เรือสำราญ รวมจำนวน 143,542,550 ราย มีอาการรุนแรง 109,498 ราย เสียชีวิต 3,057,541 ราย และสถานการณ์การแพร่ระบาดในประเทศไทยพบผู้ป่วย ติดเชื้อสะสม 46,643 ราย หายป่วย 29,371 ราย อยู่ระหว่างการรักษา 17,162 ราย ผู้ป่วยยืนยันเสียชีวิต 110 ราย ในส่วนของสถานการณ์การระบาดในพื้นที่จังหวัดยะลา ระลอกใหม่ตั้งแต่วันที่ 1 - 21 เมษายน 2564 มีรายงานผู้ป่วยสะสม 10 ราย โดยเป็นผู้ป่วยในพื้นที่อำเภอเบตง จำนวน 5 ราย           ทั้งนี้การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีมาตรการ ที่สำคัญคือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด และไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม การสวมหน้ากากอนามัย การล้างมือ รวมถึงการเฝ้าระวังผู้เดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยงทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีชาวไทยที่ไปประกอบอาชีพที่ประเทศมาเลเซียและต้องการจะเดินทางกลับภูมิลำเนาซึ่งมีจำนวนมาก ทั้งเข้าทางด่านที่ถูกต้องตามกฎหมายและลักลอบข้ามทางช่องทางธรรมชาติ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีมาตรการ คัดกรอง แยกกัก ในสถานที่ที่ห่างไกลจากชุมชน เป็นระยะเวลา 14 วัน เพื่อสังเกตอาการของผู้ที่เดินทางกลับจากต่างประเทศหรือพื้นที่เสี่ยง
          ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลอัยเยอร์เวง จึงดำเนินการจัดทำโครงการเฝ้าระวังดูแลผู้เข้าข่ายต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีงบประมาณ 2564 ขึ้น เพื่อบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวงให้มีประสิทธิภาพ และลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังผู้เดินทางมาจากพื้นที่หรือประเทศกลุ่มเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดตั้งศูนย์ฯ
  2. กิจกรรมจัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังดูแลผู้เข้าข่ายต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 85
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) พื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง ได้รับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)   2) ศูนย์กักกันเพื่อสังเกตอาการเริ่มป่วยระดับตำบลมีความพร้อม ปลอดภัยและสามารถเฝ้าระวังดูแลผู้เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมจัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังดูแลผู้เข้าข่ายต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

วันที่ 23 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ดำเนินการคัดกรองและนำกลุ่มเสี่ยงเข้ากักตัว 14 วัน 2.เฝ้าระวังและสังเกตอาการ หากเข้าเกณฑ์ ให้รีบนำส่งโรงพยาบาล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.พื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวงได้รับการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2.ศูนย์สังเกตอาการเริ่มป่วย(Local Quarantine) ตำบลอัยเยอร์เวง มีความพร้อม ปลอดภัยและสามารถเฝ้าระวังดูแลผู้เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

85 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังผู้เดินทางมาจากพื้นที่หรือประเทศกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เดินทางมาจากพื้นที่หรือประเทศกลุ่มเสี่ยงได้รับการกักตัวเพื่อสังเกตอาการติดเชื้อครบ 14 วัน
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 85
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 85
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังผู้เดินทางมาจากพื้นที่หรือประเทศกลุ่มเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดตั้งศูนย์ฯ (2) กิจกรรมจัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังดูแลผู้เข้าข่ายต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังดูแลผู้เข้าข่ายต้องกักกันเพื่อสังเกตอาการโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4131-5-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุนิสา ยี่สุ่นทรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด