กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเด็กวัยเรียนด้านพฤติกรรมและอารมณ์โดยเน้นที่ครอบครัวและเครือข่ายชุมชนตำบลกาบัง ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางกัลยาณี ดารามัน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเด็กวัยเรียนด้านพฤติกรรมและอารมณ์โดยเน้นที่ครอบครัวและเครือข่ายชุมชนตำบลกาบัง ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 041/2564 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเด็กวัยเรียนด้านพฤติกรรมและอารมณ์โดยเน้นที่ครอบครัวและเครือข่ายชุมชนตำบลกาบัง ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเด็กวัยเรียนด้านพฤติกรรมและอารมณ์โดยเน้นที่ครอบครัวและเครือข่ายชุมชนตำบลกาบัง ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเด็กวัยเรียนด้านพฤติกรรมและอารมณ์โดยเน้นที่ครอบครัวและเครือข่ายชุมชนตำบลกาบัง ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาบัง อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 041/2564 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาบัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กวัยเรียนเป็นวัยที่ก้าวออกจากครอบครัวเข้าสู่สังคมใหม่ อันได้แก่ระบบการศึกษาโรงเรียน ชุมชนและครอบครัวมีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบที่สำคัญยิ่งในการส่งเสริมศักยภาพเด็กวัยนี้ให้มีร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาที่ดี เพื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคตอย่างไรก็ตาม มีนักเรียนกลุ่มหนึ่งที่มีภาวะเสี่ยงหรือปัญหาพฤติกรรมและปัญหาอารมณ์ซึ่งจะส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาได้ทั้งปัญหาการเรียน หรืออาการผิดปกติทางกายอื่นๆ การดูแล ช่วยเหลือ หรือเฝ้าระวังที่เหมาะสมจากทุกฝ่ายจะช่วยให้เด็กต่อสู้และผ่านพ้นปัญหาไปได้ในที่สุด โดยสถานการณ์ความฉลาดทางสติปัญญาและความฉลาดทางอารมณ์ จากการสำรวจข้อมูลความฉลาดทางสติปัญญา และความฉลาดทางอารมณ์ ปี พ.ศ. 2563 ในเด็กนักเรียน ป.1 จำนวน 319 คน (กรมสุขภาพจิต) พบว่าเด็กจังหวัดยะลามีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย 66.66 ซึ่งยังต่ำกว่าเกณฑ์ (100) ส่วนความฉลาดทางอารมณ์ พบว่า มีความฉลาดทางอารมณ์ เฉลี่ย 45.90 ซึ่งยังต่ำกว่าเกณฑ์ (ร้อยละ 70) และพบว่าผลการประเมินปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ (เด็กนักเรียน ป.1 จำนวน 264 คน ใช้แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน) อยู่ในระดับเสี่ยง ร้อยละ 8.5 และอยู่ในระดับมีปัญหา ร้อยละ 8.5 นอกจากนี้ยังว่าเด็กนักเรียน ป.1 สงสัยเป็นออทิสซึม ปัญหาการเรียนรู้ (LD) เรียนรู้ช้า และสมาธิสั้นตามลำดับ จากข้อมูลงานสุขภาพจิตโรงพยาบาลกาบังตำบลกาบัง พบว่าในปี 2563มีจำนวนเด็กชั้นประถมศึกษาในโรงเรียนเขตตำบลกาบัง ที่เข้ารับการตรวจวัดระดับความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) จำนวน 25 ราย มีระดับความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย 71.79 ซึ่งยังต่ำกว่าเกณฑ์ (100) นอกจากนี้ยังพบว่าจำนวนเด็ก ที่อายุ 6-12 ปี ที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นออทิสซึม ปัญหาการเรียนรู้ (LD) จำนวน 8 ราย เรียนรู้ช้า (ID) จำนวน 15 ราย และสมาธิสั้นมีจำนวน 2 ราย จากปัญหาดังกล่าว งานสุขภาพจิตเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอกาบัง ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัด “โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเด็กวัยเรียนด้านพฤติกรรมและอารมณ์ โดยเน้นที่ครอบครัวและเครือข่ายชุมชน” ขึ้น เพื่อค้นหาและเพิ่มการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยเด็กวัยเรียนที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและอารมณ์ โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของครอบครัวและคนในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการช่วยเหลือปัญหาด้านพฤติกรรมและอารมณ์อย่างถูกต้องและเหมาะสม ประเมินจากแบบทดสอบก่อน-หลัง การอบรม
  2. เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองเด็กในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยเรียน
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพจิตเด็กในวัยเรียนในโรงเรียน/ให้คำปรึกษา/แนะแนว
  4. เพื่อมีแนวทางการแก้ไขปัญหาแนวทางปฏิบัติตัวและแนวทางการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ มีทักษะในการช่วยเหลือปัญหาด้านพฤติกรรมและอารมณ์ก้าวร้าว อย่างถูกต้องและเหมาะสม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครูอนามัยโรงเรียน 6
ผู้ปกครองเด็กนักเรียน 120

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตเด็กในชุมชน ผู้เข้ารับการอบรมมีการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพจิตเด็กและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิตในเด็กและวัยเรียน ผู้เข้ารับการอบรมมีแนวทางการแก้ไขปัญหาแนวทางปฏิบัติตัวและแนวทางการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการช่วยเหลือปัญหาด้านพฤติกรรมและอารมณ์อย่างถูกต้องและเหมาะสม ประเมินจากแบบทดสอบก่อน-หลัง การอบรม
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ มีทักษะในการช่วยเหลือปัญหาด้านพฤติกรรมและอารมณ์ก้าวร้าว อย่างถูกต้องและเหมาะสม
20.00 30.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองเด็กในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยเรียน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตเด็กในชุมชน
20.00 30.00

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพจิตเด็กในวัยเรียนในโรงเรียน/ให้คำปรึกษา/แนะแนว
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพจิตเด็กและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปฏิบัติงานด้านสุขภาพจิตในเด็กและวัยเรียน
20.00 30.00

 

4 เพื่อมีแนวทางการแก้ไขปัญหาแนวทางปฏิบัติตัวและแนวทางการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมมีแนวทางการแก้ไขปัญหาแนวทางปฏิบัติตัวและแนวทางการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม
20.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 246
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครูอนามัยโรงเรียน 6
ผู้ปกครองเด็กนักเรียน 120

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ มีทักษะในการช่วยเหลือปัญหาด้านพฤติกรรมและอารมณ์อย่างถูกต้องและเหมาะสม ประเมินจากแบบทดสอบก่อน-หลัง การอบรม (2) เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองเด็กในการค้นหาและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยเรียน (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพจิตเด็กในวัยเรียนในโรงเรียน/ให้คำปรึกษา/แนะแนว (4) เพื่อมีแนวทางการแก้ไขปัญหาแนวทางปฏิบัติตัวและแนวทางการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ มีทักษะในการช่วยเหลือปัญหาด้านพฤติกรรมและอารมณ์ก้าวร้าว อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเด็กวัยเรียนด้านพฤติกรรมและอารมณ์โดยเน้นที่ครอบครัวและเครือข่ายชุมชนตำบลกาบัง ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 041/2564

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกัลยาณี ดารามัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด