กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการประชาชนตำบลโคกเคียนดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย รพ.สต.โคกเคียน ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวชนาธิป โสพินธุ์

ชื่อโครงการ โครงการประชาชนตำบลโคกเคียนดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย รพ.สต.โคกเคียน

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2492-1-12 เลขที่ข้อตกลง 12/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชาชนตำบลโคกเคียนดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย รพ.สต.โคกเคียน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาชนตำบลโคกเคียนดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย รพ.สต.โคกเคียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชาชนตำบลโคกเคียนดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย รพ.สต.โคกเคียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2492-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันแม้ว่าการแพทย์แผนไทยถือว่ามีบทบาทขึ้นอย่างมากในสังคมไทย แต่ก็ยังมีอุปสรรคอยู่มากมาย ไม่ว่าจะเป็นความรู้ความเข้าใจทางด้านสมุนไพร ตลอดจนบุคลากรผู้ให้บริการที่ยังมีจำนวนน้อย ซึ่งการจะทำให้เกิดการเชื่อมโยงการแพทย์แผนไทยสู่ชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น คงหลีกหนีไม่พ้นการทำงานด้วยความเชื่อมั่น และศรัทธาในวิชาชีพของเหล่าบุคลากรทางการแพทย์แผนไทยเอง การปฏิบัติงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมุ่งเน้นบริการด้านการแพทย์แผนไทยทั้งเชิงรุกและเชิงรับ โดยมีจุดเริ่มต้นจากกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ซึ่งได้ให้การส่งเสริมและสนับสนุนแพทย์ไทยสู่ รพ.สต. จากเดิมที่ รพ.สต. ยังไม่มีการให้บริการด้านนี้ ดังนั้น ในการปฏิบัติงานจึงต้องเริ่มต้นจากศูนย์ ตั้งแต่ลงพื้นที่สำรวจข้อมูล แนะนำตัวกับชาวบ้าน สร้างความคุ้นเคย ให้ชาวบ้านในพื้นที่รู้จักการแพทย์แผนไทย และวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพร่วมกับสหวิชาชีพเพื่อบูรณาการการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยร่วมกับการแพทย์แผนปัจจุบัน ปัจจุบัน รพ.สต.ภารกิจมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการจัดทำเวชระเบียนและระบบฐานข้อมูลของผู้ป่วย การส่งเสริมสุขภาพด้วยสมาธิบำบัด และฤาษีดัดตน การให้ความรู้แก่คนในชุมชนให้สามารถนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นไปใช้ประโยชน์ได้ การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยเน้นการรับประทานปลาและผักเป็นหลัก ซึ่งจะช่วยในการดูแลสุขภาพที่ยั่งยืน การป้องกันโรคในผู้สูงอายุ เช่น แช่เท้าในน้ำสมุนไพร หรือนวดเท้า เพื่อป้องกันอาการเท้าชาในผู้ป่วยเบาหวาน การฟื้นฟูมารดาหลังคลอด 5 ประการ ได้แก่ นวด อบ ประคบ ทับหม้อเกลือ และให้คำแนะนำ นอกจากนี้ในมารดาหลังคลอดบางกลุ่มต้องเพิ่มในเรื่องยาสมุนไพรเข้าไปด้วย เช่น สมุนไพรหลังคลอดเพื่อขับน้ำคาวปลา หรือสมุนไพรที่ช่วยในเรื่องของการบำรุงน้ำนม เป็นต้น ไม่เพียงเท่านั้น ยังมีในเรื่องยาสมุนไพรซึ่งนำมาใช้ทดแทนยาแผนปัจจุบัน การให้บริการรักษาโรค เช่น การนวด อบ ประคบ ซึ่งเป็นหนึ่งในหัตถการการรักษาฟื้นฟู นอกจากนี้ในกรณีที่ผู้ป่วยในชุมชนไม่สามารถมารับการรักษาที่ รพ.สต ได้ แพทย์แผนไทยจะลงชุมชนไปเพื่อสำรวจ มองปัญหาของผู้ป่วย และทำหัตการให้ผู้ป่วยที่บ้าน รวมถึงลงพื้นที่ร่วมกับสหวิชาชีพเพื่อวินิจฉัยโรค และติดตามอาการของผู้ป่วยร่วมกันว่าหลังจากที่รับหัตถการไปแล้ว อาการของผู้ป่วยดีขึ้นหรือไม่ดีขึ้นอย่างไร
ในระยะแรกประชาชนอาจขาดความรู้เรื่องสมุนไพร ทั้ง ๆ ที่ตำบลโคกเคียนซึ่งก็คือสมุนไพรในพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์มาก แต่ประชาชนก็ยังไม่มั่นใจ หลังจากที่เราให้ความรู้ไปก็พบว่ามีการนำสมุนไพรมาใช้กันมากขึ้น บทบาทของหมอพื้นบ้านก็มีเพิ่มขึ้น ประชาชนมั่นใจมากขึ้น ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขาดการดูแลตนเอง เกิดภาวะแทรกซ้อน มีจำนวนลดลง ผู้พิการที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ หลังจากที่ให้ความรู้ในการฟื้นฟูตนเอง ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากญาติ ก็มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น หรือแม้กระทั่งมารดาตั้งครรภ์หลังคลอดที่เมื่อก่อนละเลยการดูแลตนเอง ก็หันกลับมาดูแลตนเองมากขึ้น ดังนั้นทาง รพ.สต.โคกเคียนได้เล็งเห็นความสำคัญของการแพทย์แผนไทยควบคู่กับแพทย์แผนปัจจุบัน จึงได้จัดทำ “โครงการประชาชนตำบลโคกเคียนดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย ปี ๒๕๖๔”

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนทั่วไป ทราบถึงคุณค่าของสมุนไพรในท้องถิ่นและสามารถนำใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพได้
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการผลิตและนำไปประยุกต์ใช้กลุ่ม อสม.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการทำลูกประคบสมุนไพร การทำยาหม่องไพล และการทำยาดมสมุนไพรแก่ประชาชนทั่วไปและ อสม จำนวน ๑๕๐ คน (แบ่งเป็น ๓ รุ่นๆละ ๕๐ คน)
  2. ๒.ค่าวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชาชนและ อสม. มีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการผลิตและนำไปประยุกต์ใช้

๒. กลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้แก่ตนเองและครอบครัว

๓. มีการเข้ารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยและใช้ยาสมุนไพรทดแทนยาแผนปัจจุบันมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนทั่วไป ทราบถึงคุณค่าของสมุนไพรในท้องถิ่นและสามารถนำใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนทั่วไป ทราบถึงคุณค่าของสมุนไพรในท้องถิ่นและสามารถนำใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพได้ ร้อยละ ประชาชนทั่วไป ทราบถึงคุณค่าของสมุนไพรในท้องถิ่นและสามารถนำใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพได้ ร้อยละ ๘๐
0.00

 

2 2. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการผลิตและนำไปประยุกต์ใช้กลุ่ม อสม.
ตัวชี้วัด : อสม.นำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการไปเผยแพร่ให้กับประชาชนในพื้นที่ต่อไป ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนทั่วไป ทราบถึงคุณค่าของสมุนไพรในท้องถิ่นและสามารถนำใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพได้ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการผลิตและนำไปประยุกต์ใช้กลุ่ม อสม.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการทำลูกประคบสมุนไพร การทำยาหม่องไพล และการทำยาดมสมุนไพรแก่ประชาชนทั่วไปและ อสม จำนวน ๑๕๐ คน  (แบ่งเป็น ๓ รุ่นๆละ ๕๐ คน) (2) ๒.ค่าวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประชาชนตำบลโคกเคียนดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย รพ.สต.โคกเคียน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2492-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวชนาธิป โสพินธุ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด