จัดตั้งสถานที่และจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงโควิด-19 ระดับพื้นที่(LQ) อบต.บือมัง
ชื่อโครงการ | จัดตั้งสถานที่และจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงโควิด-19 ระดับพื้นที่(LQ) อบต.บือมัง |
รหัสโครงการ | 64-L4163-5-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบือมัง |
วันที่อนุมัติ | 28 เมษายน 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 30 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 99,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอะห์หมัดกัสดาฟี มะฆุนิ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบือมัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 15 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : ระบุ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนมาตรการทางสังคม เช่น ข้อตกลง ธรรมนูญ/มาตรการชุมชนเพื่อป้องกัน/แก้ปัญหา/และฟื้นฟูโควิด-19 (เช่น มาตรการของตลาด มาตรการทำกิจกรรมทางศาสนา มาตรการสวมหน้ากากอนามัย มาตรการจัดงานพิธีต่างๆ) | 100.00 | ||
2 | ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน | 100.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ด้วยสถานการณ์ระบาดของไวรัสโควิด -19ระลอกใหม่ช่วงเดือนเมษายน จวบจนปัจจุบัน มีอัตราการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและในวงกว้างส่งผลให้ประชาชนติดเชื้อโควิด 19 จำนวนมากกว่าวันละ 1000 คน ทำให้การจะรับรักษาพยาบาลคนไข้เหล่านี้ในโรงพยาบาลคงไม่สามารถทำได้ ตลอดจนอาการป่วยโควิดก็มีระดับความรุนแรงน้อยและมาก โรงพยาบาลต้องใช้ในการดูแลผู้ป่วยอาการหนักเท่านั้นและมีความจำเป็น นอกจากนี้สถานการณ์ของบุคคลที่ไปทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน มีแนวโน้มว่าจะต้องถูกผลักดันให้กลับประเทศ ซึ่งบุคคลเหล่านี้หลายคนอาจป่วยด้วยโควิดสายพันธุ์ แอฟริกา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ค่อนข้างดื้อวัคซีนที่กำลังจะฉีด ทางจังหวัดได้มีการประสานให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสถานกักตัวแบบพื้นที่ หรือ Local Quarantine :LQ เพื่อใช้ในการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงและเดินทางจากประเทศเพื่อนบ้านขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงใน LQ ผู้ที่มีเดินทางกลับจากต่างประเทศหรือพื้นที่เสี่ยงที่จังหวัดกำหนด ได้รับการกักตัวเพื่อสังเกตอาการ ร้อยละ 100 |
100.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
30 เม.ย. 64 - 27 พ.ค. 64 | จัดตั้งสถานที่กักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงโควิด-19 ระดับพื้นที่(LQ) อบต.บือมัง | 15 | 99,000.00 | - | ||
รวม | 15 | 99,000.00 | 0 | 0.00 |
จัดตั้งสถานที่และจัดบริการกักตัวบุคคลที่มีความเสี่ยงโควิด-19
1.ค่าอาหารสำหรับบุคคลที่กักตัวที่มาจากพื้นที่เสี่ยง จำนวน 15 คน ๆ 3 มื้อ ๆ ละ 50 บาท
เป็นเวลา 16 วัน เป็นเงิน 36,000 บาท
2.ค่าอาหารกลางวันสำหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จำนวน 6 คน ๆ 1 มื้อ ๆ ละ 50 เป็นเวลา 30 วัน
เป็นเงิน 9,000 บาท
3.ค่าอาหารเย็นสำหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานกลางคืน จำนวน 6 คน ๆ 1 มื้อ ๆ ละ 50 บาท
เป็นเวลา 30 วัน เป็นเงิน 9,000 บาท
4.วัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นเงิน 30,000 บาท
5.วัสดุอุปกรณ์สำหรับการดำเนินงานสำหรับสถานที่กักฯ สำหรับผู้กัก ในการปฏิบัติงาน เป็นเงิน 15,000 บาท
1.เกิดระบบการกักตัวผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด 19 2.ผู้ที่มีความเสี่ยงติดเชื้อโควิด 19 ได้รับการกักตัวร้อยละ 100
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 เม.ย. 2564 00:00 น.