โครงการลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง ”
ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอาดือนัน สาและ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร
สิงหาคม 2564
ชื่อโครงการ โครงการลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง
ที่อยู่ ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L3060-1-02 เลขที่ข้อตกลง 1/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3060-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพช่องปากเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพดีช่วยเสริมคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในเด็กวัยเรียนโรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรกและอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 3-5ปี สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุมาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้องรวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธีและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรงและปัญหาสุขภาพช่องปากจะส่งผลต่อระบบอื่นๆของร่างกาย ดังนั้น เราจึงจําเป็นต้องดูแลสุขภาพในช่องปากให้สมบูรณ์ ซึ่งในปัจจุบันแนวคิดการดูแลช่องปาก มิใช่การกําจัดโรคอย่างเดียวเท่านั้น แต่จะต้องดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีตั้งแต่แรกเริ่มและคงสภาพที่ดีไว้ นั่นคือ ให้ความสําคัญในการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ซึ่งดีกว่าการรักษาเพราะกระทําในสภาพปกติ ไม่ก่อให้เกิด ความเจ็บปวด ไม่ต้องทนทุกข์ทรมานในการปวดฟัน ไม่ต้องยุ่งยาก ไม่เสียเวลาในการรักษา และที่สําคัญคือไม่ต้องสูญเสียฟัน
การส่งเสริมทันตสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก มุ่งเน้นที่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอนามัยโดยเฉพาะพฤติกรรมการทําความสะอาดช่องปากและพฤติกรรมการบริโภคอันเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดโรคฟันผุ เหงือกอักเสบรายงานผลการสำรวจ สภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8ประเทศไทย พ.ศ. 2560พบว่า เด็กอายุ 3 ปี และเด็กอายุ 5 ปี ซึ่งมีฟันน้ำนมครบ 20 ซี่ ในระดับประเทศมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (dmft) 2.7 และ 4.5 ซี่/คน และในเขตภาคใต้ พบว่ามีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (dmft) 3.1และ5.2ซี่/คน จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของเด็กอายุ 3-5ปี ที่มารับบริการในคลินิกเด็กดีตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2563พบว่า เด็กในช่วงอายุ 3 ปีมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด(dmf) เท่ากับ 3.6 ซี่/คนเด็กในช่วงอายุ 5 ปีมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด(dmf) เท่ากับ 7.4 ซี่/คนซึ่งมีค่าผุ ถอน อุด (dmf) เฉลี่ยในระดับสูงเมื่อเทียบกับค่าผุ ถอน อุด (dmf) ระดับประเทศและระดับภาค
จากการสำรวจและเก็บข้อมูล ทำให้เห็นถึงความสำคัญในการแก้ปัญหาและการป้องกันการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการ “ลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง” เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติและการปฏิบัติตนที่ถูกวิธีในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตรหลานได้อย่างถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 3-5 ปีในตำบลละหารได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเลี้ยงดูลูก เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อคืนข้อมูลสถานะฟันของเด็ก กลุ่มอายุ 3-5 ปีและดำเนินการจัดกิจกรรมการให้ความรู้และสอนทักษะการดูแลช่องปาก
- 2.1 ดำเนินกิจกรรมการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองตามกิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ ประกอบด้วย 2.1.1 รับสมัครผู้ปกครองเด็กอายุ 3-5 ปีที่สนใจเข้าร่วมโครงการ 2.1.2 ตรวจสุขภาพช่องปากและให้คำแนะนำในเรื่องทันตสุขภาพ 2.1.3 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพแก่ผู้ปกครองเด็กอ
- 3. กิจกรรมหลังการดำเนินโครงการ 3.1 ติดตามการแปรงฟันของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุทุกเดือน 3.2 ติดตามผู้เข้าร่วมกิจกรรมพร้อมเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ทุก 3 เดือน 3.3 สรุปผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
3.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เด็กอายุ 3-5 ปี มีสุขภาพอนามัยช่องปากที่ดีขึ้น
2. ผู้ปกครองตระหนักถึงปัญหาสุขภาพช่องปากและดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 3-5 ปีในตำบลละหารได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเลี้ยงดูลูก เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กอายุ 3-5 ปี ร้อยละ95 ไดรับการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูลูก ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟัยผุ
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 3-5 ปีในตำบลละหารได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเลี้ยงดูลูก เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อคืนข้อมูลสถานะฟันของเด็ก กลุ่มอายุ 3-5 ปีและดำเนินการจัดกิจกรรมการให้ความรู้และสอนทักษะการดูแลช่องปาก (2) 2.1 ดำเนินกิจกรรมการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองตามกิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ ประกอบด้วย 2.1.1 รับสมัครผู้ปกครองเด็กอายุ 3-5 ปีที่สนใจเข้าร่วมโครงการ 2.1.2 ตรวจสุขภาพช่องปากและให้คำแนะนำในเรื่องทันตสุขภาพ 2.1.3 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพแก่ผู้ปกครองเด็กอ (3) 3. กิจกรรมหลังการดำเนินโครงการ 3.1 ติดตามการแปรงฟันของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุทุกเดือน 3.2 ติดตามผู้เข้าร่วมกิจกรรมพร้อมเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ทุก 3 เดือน 3.3 สรุปผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L3060-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอาดือนัน สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง ”
ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอาดือนัน สาและ
สิงหาคม 2564
ที่อยู่ ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L3060-1-02 เลขที่ข้อตกลง 1/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3060-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพช่องปากเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพดีช่วยเสริมคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในเด็กวัยเรียนโรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรกและอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 3-5ปี สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุมาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้องรวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธีและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรงและปัญหาสุขภาพช่องปากจะส่งผลต่อระบบอื่นๆของร่างกาย ดังนั้น เราจึงจําเป็นต้องดูแลสุขภาพในช่องปากให้สมบูรณ์ ซึ่งในปัจจุบันแนวคิดการดูแลช่องปาก มิใช่การกําจัดโรคอย่างเดียวเท่านั้น แต่จะต้องดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีตั้งแต่แรกเริ่มและคงสภาพที่ดีไว้ นั่นคือ ให้ความสําคัญในการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ซึ่งดีกว่าการรักษาเพราะกระทําในสภาพปกติ ไม่ก่อให้เกิด ความเจ็บปวด ไม่ต้องทนทุกข์ทรมานในการปวดฟัน ไม่ต้องยุ่งยาก ไม่เสียเวลาในการรักษา และที่สําคัญคือไม่ต้องสูญเสียฟัน การส่งเสริมทันตสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก มุ่งเน้นที่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอนามัยโดยเฉพาะพฤติกรรมการทําความสะอาดช่องปากและพฤติกรรมการบริโภคอันเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดโรคฟันผุ เหงือกอักเสบรายงานผลการสำรวจ สภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 8ประเทศไทย พ.ศ. 2560พบว่า เด็กอายุ 3 ปี และเด็กอายุ 5 ปี ซึ่งมีฟันน้ำนมครบ 20 ซี่ ในระดับประเทศมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (dmft) 2.7 และ 4.5 ซี่/คน และในเขตภาคใต้ พบว่ามีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด (dmft) 3.1และ5.2ซี่/คน จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของเด็กอายุ 3-5ปี ที่มารับบริการในคลินิกเด็กดีตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2563พบว่า เด็กในช่วงอายุ 3 ปีมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด(dmf) เท่ากับ 3.6 ซี่/คนเด็กในช่วงอายุ 5 ปีมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด(dmf) เท่ากับ 7.4 ซี่/คนซึ่งมีค่าผุ ถอน อุด (dmf) เฉลี่ยในระดับสูงเมื่อเทียบกับค่าผุ ถอน อุด (dmf) ระดับประเทศและระดับภาค จากการสำรวจและเก็บข้อมูล ทำให้เห็นถึงความสำคัญในการแก้ปัญหาและการป้องกันการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลละหาร อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการ “ลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง” เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจ ทัศนคติและการปฏิบัติตนที่ถูกวิธีในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตรหลานได้อย่างถูกต้อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 3-5 ปีในตำบลละหารได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเลี้ยงดูลูก เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อคืนข้อมูลสถานะฟันของเด็ก กลุ่มอายุ 3-5 ปีและดำเนินการจัดกิจกรรมการให้ความรู้และสอนทักษะการดูแลช่องปาก
- 2.1 ดำเนินกิจกรรมการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองตามกิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ ประกอบด้วย 2.1.1 รับสมัครผู้ปกครองเด็กอายุ 3-5 ปีที่สนใจเข้าร่วมโครงการ 2.1.2 ตรวจสุขภาพช่องปากและให้คำแนะนำในเรื่องทันตสุขภาพ 2.1.3 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพแก่ผู้ปกครองเด็กอ
- 3. กิจกรรมหลังการดำเนินโครงการ 3.1 ติดตามการแปรงฟันของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุทุกเดือน 3.2 ติดตามผู้เข้าร่วมกิจกรรมพร้อมเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ทุก 3 เดือน 3.3 สรุปผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
3.ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เด็กอายุ 3-5 ปี มีสุขภาพอนามัยช่องปากที่ดีขึ้น 2. ผู้ปกครองตระหนักถึงปัญหาสุขภาพช่องปากและดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 3-5 ปีในตำบลละหารได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเลี้ยงดูลูก เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กอายุ 3-5 ปี ร้อยละ95 ไดรับการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูลูก ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟัยผุ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กอายุ 3-5 ปีในตำบลละหารได้รับการส่งเสริมทันตสุขภาพเพื่อนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเลี้ยงดูลูก เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อคืนข้อมูลสถานะฟันของเด็ก กลุ่มอายุ 3-5 ปีและดำเนินการจัดกิจกรรมการให้ความรู้และสอนทักษะการดูแลช่องปาก (2) 2.1 ดำเนินกิจกรรมการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองตามกิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ ประกอบด้วย 2.1.1 รับสมัครผู้ปกครองเด็กอายุ 3-5 ปีที่สนใจเข้าร่วมโครงการ 2.1.2 ตรวจสุขภาพช่องปากและให้คำแนะนำในเรื่องทันตสุขภาพ 2.1.3 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพแก่ผู้ปกครองเด็กอ (3) 3. กิจกรรมหลังการดำเนินโครงการ 3.1 ติดตามการแปรงฟันของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุทุกเดือน 3.2 ติดตามผู้เข้าร่วมกิจกรรมพร้อมเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ทุก 3 เดือน 3.3 สรุปผลการดำเนินกิจกรรมโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการลูกรักฟันดี ด้วยมือผู้ปกครอง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 64-L3060-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอาดือนัน สาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......