กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก


“ โครงการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์๑๒สัปดาห์ ปี ๒๕๖๐ ”

ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัสนีซาบินเตะ

ชื่อโครงการ โครงการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์๑๒สัปดาห์ ปี ๒๕๖๐

ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2475-02-003 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์๑๒สัปดาห์ ปี ๒๕๖๐ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์๑๒สัปดาห์ ปี ๒๕๖๐



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์๑๒สัปดาห์ ปี ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2475-02-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กปี๒๕๕๙ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพของตำบลบ้านไอร์ซือเร๊ะ พบว่ามีตัวชี้วัดหลายตัวที่ไม่บรรลุตามเป้าหมายเช่น หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์ก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์ร้อยละ ๙๑.๐๒(เกณฑ์มากกว่า๗๕%)หญิงมีครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์ก่อนคลอดตามเกณฑ์ร้อยละ๘๖.๕๖ ( เกณฑ์มากกว่า ๙๕%)การคลอดโดยผดุงครรภ์โบราณคิดเป็นร้อยละ ๒.๙๘ (เกณฑ์น้อยกว่า ๑๐% )ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์เป็นร้อยละ ๑๖.๔๑ (เกณฑ์ไม่เกิน ๑๐%)สาเหตุที่ทำให้ปัญหางานอนามัยแม่และเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพของตำบลบ้านไอร์ซือเร๊ะ ไม่สามารถบรรลุตามเป้าหมายเนื่องจากปัจจัยหลายด้านเช่นด้านเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอต่อการติดตามเชิงรุกด้านหญิงมีครรภ์ที่ขาดการตระหนัก รวมทั้งองค์ชุมชนไม่เน้นความสำคัญของงานอนามัยแม่และเด็กได้เล็งเห็นความสำคัญของการรณรงค์งานอนามัยแม่และเด็ก เพื่อให้มีหญิงมีครรภ์ที่มีสุขภาพสมบูรณ์และกำเนิดบุตรที่มีสุขภาพที่ แข็งแรงทั้งทางกายและจิตใจภายใต้โครงการรักษ์ห่วงใยสุขภาพแม่และลูก รณรงค์โดยใช้หลักการ ๓ ส. ให้ความรู้แก่กลุ่ม กลุ่มอาสาสมัครผู้นำชุมชนแกนนำสตรีและหญิงมีครรภ์ในตำบลบ้านไอร์ซือเร๊ะ มีความรู้ในงานอนามัยแม่และเด็กการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องเพื่อให้หญิงมีครรภ์ ฝากครรภ์ทันทีเมื่อทราบว่าตั้งครรภ์การฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอตามเกณฑ์ จะช่วยให้ทราบถึงการเจริญเติบโตรวมถึงความผิดปกติของทารกในครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลช้างเผือก ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังงานอนามัยแม่และเด็ก จึงได้จัดทำโครงการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์๑๒สัปดาห์ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ปี ๒๕๖๐

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อกระตุ้นให้หญิงมีครรภ์เห็นความสำคัญของการฝากครรภ์ตั้งแต่เนิ่นๆเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ ๒ เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์ ๓ เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพ ๔ เพื่อไม่ให้มีมารดาตายจากสาเหตุการตั้งครรภ์และการคลอดที่ป้องกันได้ ๕ เพื่อลดอัตราตายปริกำเนิด ๖ เพื่อเพิ่มความรู้ ให้แกนนำสตรี เกี่ยวกับงานอนามัยแม่และเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้แกนนำสตรี คู่สมรสรายใหม่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 52
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

แกนนำสตรีได้รับความรู้ และมีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้หญิงมีครรภ์เห็นความสำคัญในการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์ และได้รับความรู้การฝากครรภ์คุณภาพ ทำให้สามารถลดอัตรามารดารตายจากการตั้งครรภ์และการคลอดที่สามารถป้องกันได้ แล้วยังสามารถลดอัตราการตายปริกำเนิดด้วย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้แกนนำสตรี คู่สมรสรายใหม่

วันที่ 17 สิงหาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

52 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑ เพื่อกระตุ้นให้หญิงมีครรภ์เห็นความสำคัญของการฝากครรภ์ตั้งแต่เนิ่นๆเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ ๒ เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์ ๓ เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพ ๔ เพื่อไม่ให้มีมารดาตายจากสาเหตุการตั้งครรภ์และการคลอดที่ป้องกันได้ ๕ เพื่อลดอัตราตายปริกำเนิด ๖ เพื่อเพิ่มความรู้ ให้แกนนำสตรี เกี่ยวกับงานอนามัยแม่และเด็ก
ตัวชี้วัด : ๑ หญิงมีครรภ์เห็นความสำคัญของการฝากครรภ์ตั้งแต่เนิ่นๆเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ ครอบคลุมร้อยละ ๑๐๐ ๒ อัตราการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์ ครอบคลุมร้อยละ ๗๕ ๓ อัตราการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพ ครอบคลุมร้อยละ ๑๐๐ ๔ มารดาตายจากสาเหตุการตั้งครรภ์และการคลอดที่ป้องกันได้ ครอบคลุมร้อยละ ๑๐๐ ๕ อัตราตายปริกำเนิดลดลง ครอบคลุมร้อยละ ๑๐๐ ๖ แกนนำสตรีมีความรู้ในงานอนามัยแม่และเด็ก ครอบคลุมร้อยละ๑๐๐

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 52
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 52
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อกระตุ้นให้หญิงมีครรภ์เห็นความสำคัญของการฝากครรภ์ตั้งแต่เนิ่นๆเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ ๒ เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์
๓ เพื่อเพิ่มอัตราการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพ ๔ เพื่อไม่ให้มีมารดาตายจากสาเหตุการตั้งครรภ์และการคลอดที่ป้องกันได้ ๕ เพื่อลดอัตราตายปริกำเนิด ๖ เพื่อเพิ่มความรู้ ให้แกนนำสตรี เกี่ยวกับงานอนามัยแม่และเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แกนนำสตรี คู่สมรสรายใหม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์๑๒สัปดาห์ ปี ๒๕๖๐ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2475-02-003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอัสนีซาบินเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด