กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน : การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน : การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 30/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 31 มีนาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน : การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน : การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน : การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 31 มีนาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปี 2563 ที่ผ่านมา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก ให้บริการการฝากครรภ์ (Antenatal care ย่อว่า เอเอนซี/ANC) ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ทั้งสิ้น 182 คน และหญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมบ้านครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ทั้งสิ้น 171 คน คิดเป็นร้อยละ 86.8 ซึ่งเป็นจำนวนที่มากที่สุดในรอบ 3 ปี ข้อมูลจากคลังข้อมูลสุขภาพจังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2563 และหญิงหลังคลอดทั้งหมดที่ได้รับการเยี่ยมบ้าน สามารถเข้ารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยได้ทั้งสิ้น 75 คน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 43.8 และไม่ถึง 50% ของหญิงหลังคลอดทั้งหมด นั่นแสดงให้เห็นว่าหญิงหลังคลอดยังขาดความรู้เรื่องการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย อาจเพราะประชาชนขาดความรู้และไม่ทราบถึงประโยชน์การดูแลมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยจึงให้ความสำคัญน้อยมาก ซึ่งศาสตร์ด้านการแพทย์แผนไทยเกี่ยวข้องกับการดูแลมารดาหลังคลอดนับเป็นหนึ่งในภูมิปัญญาอันล้ำค่าของไทยที่ได้รับการยอมรับและถ่ายทอดกันมาอย่างต่อเนื่องจากอดีตจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากตลอดการตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด มารดาตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจเป็นอย่างมาก แม้ว่าหลังคลอดแล้วร่างกายจะมีการปรับตัวให้เข้าสู่สภาพปกติได้เอง แต่เมื่ออายุมากขึ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายของผู้หญิงที่ผ่านการคลอดและมารดาหลังคลอดจะลดน้อยลง มีภาวะร้อน ๆ หนาว ๆ ปวดกล้ามเนื้อตามร่างกายและป่วยบ่อยครั้ง การดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมารดาหลังคลอด การฟื้นฟู การส่งเสริม การป้องกัน การรักษาสุขภาพในระยะหลังคลอด จะเป็นการฟื้นฟูสภาพร่างกายให้กลับเข้าสู่สภาพปกติได้โดยเร็ว และการนำการแพทย์แผนไทยเข้าสู่ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อฟื้นฟูสุขภาพของมารดาหลังคลอดเป็นเรื่องที่มีความสำคัญยิ่ง เพราะสุขภาพของผู้เป็นมารดามีความสำคัญไม่เฉพาะต่อตัวเองเท่านั้น มารดายังเป็นพื้นฐานสำคัญในการดูแลสุขภาพของครอบครัวโดยเฉพาะสุขภาพของลูก นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่จะฟื้นฟูด้านการแพทย์แผนไทย ให้มีบทบาทในระบบบริการสาธารณสุขของประเทศอีกด้วย
งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดโครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน : การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย ตามแนวทางเวชปฏิบัติด้านการแพทย์แผนไทยในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก ทั้งการให้บริการในสถานบริการและออกเยี่ยมบ้านในชุมชนที่รับผิดชอบ โดยให้บริการดังนี้ การใช้ยาสมุนไพร การทับหม้อเกลือ การประคบสมุนไพร การอบสมุนไพร การนวดหลังคลอด การนวดเต้านมในกรณีน้ำนมไม่ไหลและเต้านมคัดตึง ตลอดจนการให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารบำรุงสุขภาพ อาหารแสลง อาหารบำรุงน้ำนม น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ และการดูแลความงามผิวพรรณด้วยสมุนไพรของมารดาหลังคลอด เพื่อเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพ บำบัดโรคที่ดีอีกวิธีหนึ่ง
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของดูแลมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ และอาสาสมัครสาธารณสุข มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ของการเข้ารับบริการดูแลมารดาหลังคลอด และสามารถนำไปเผยแพร่ความรู้ให้กับคนในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้รับผิดชอบงานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน : การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ อสม.ในพื้นที่ หญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอด และหญิงหลังคลอด ได้รับทราบประโยชน์ของการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย
  2. 2. เพื่อให้ อสม.ในพื้นที่ หญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอด และหญิงหลังคลอด ได้รับทราบเกี่ยวกับการนำสมุนไพรมาใช้ในการดูแลมารดาหลังคลอด
  3. 3. เพื่อให้หญิงหลังคลอดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ของ รพ.สต.สะเตงนอก ได้รับบริการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 อสม.ในพื้นที่ หญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอด และหญิงหลังคลอด มีความรู้เรื่องประโยชน์ของการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย และสามารถนำไปเผยแพร่ให้กับคนในชุมชนได้ 2 อสม.ในพื้นที่ หญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอด และหญิงหลังคลอด มีความรู้เกี่ยวกับการนำสมุนไพรมาใช้ในการดูแลมารดาหลังคลอด และสามารถนำไปเผยแพร่ให้กับคนในชุมชนได้ 3 หญิงหลังคลอดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ของ รพ.สต.สะเตงนอก ได้รับบริการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยครบตามจำนวนที่กำหนด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ทดสอบความรู้ก่อนการอบรม 2.บรรยายเรื่องภาวะที่เปลี่ยนไปของหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอดตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย 3.บรรยายเรื่อง อาหารสมุนไพรบำรุงมารดาก่อนและหลังคลอด 4.บรรยายเรื่อง ประโยชน์และข้อห้ามของการอยู่ไฟตามแนวทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน 5.บรรยายเรื่องขั้นตอนการดูแลมารดาหลังคลอดตามแนวทางการแพทย์แผนไทย 6.สาธิตการดูแลมารดาหลังคลอดตามขั้นตอนของการแพทย์แผนไทยและทดสอบหลังการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในชุมชนมีส่วนร่วมในโครงการ คิดเป็นร้อยละ 95 2.อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน หญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้รับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยประโยชน์ต่างๆและการใช้สมุนไพรสำหรับหญิงก่อนคลอดและหญิงหลังคลอด คิดเป็นร้อยละ 75-80 ของผู้เข้าร่วมอบรมในแต่ละครั้ง

 

190 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ อสม.ในพื้นที่ หญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอด และหญิงหลังคลอด ได้รับทราบประโยชน์ของการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้ อสม.ในพื้นที่ หญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอด และหญิงหลังคลอด ได้รับทราบเกี่ยวกับการนำสมุนไพรมาใช้ในการดูแลมารดาหลังคลอด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อให้หญิงหลังคลอดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ของ รพ.สต.สะเตงนอก ได้รับบริการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ อสม.ในพื้นที่ หญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอด และหญิงหลังคลอด ได้รับทราบประโยชน์ของการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย (2) 2. เพื่อให้ อสม.ในพื้นที่ หญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอด และหญิงหลังคลอด ได้รับทราบเกี่ยวกับการนำสมุนไพรมาใช้ในการดูแลมารดาหลังคลอด (3) 3. เพื่อให้หญิงหลังคลอดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ของ รพ.สต.สะเตงนอก ได้รับบริการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน : การดูแลหญิงหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด