โครงการ โรงเรียน อสม. สู่กระบวนการเรียนรู้ เพื่อชุมชน ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ โรงเรียน อสม. สู่กระบวนการเรียนรู้ เพื่อชุมชน ปี 2560 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอาลาวีสนิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต
พฤศจิกายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการ โรงเรียน อสม. สู่กระบวนการเรียนรู้ เพื่อชุมชน ปี 2560
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L8423-1-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 กันยายน 2560 ถึง 17 พฤศจิกายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ โรงเรียน อสม. สู่กระบวนการเรียนรู้ เพื่อชุมชน ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ โรงเรียน อสม. สู่กระบวนการเรียนรู้ เพื่อชุมชน ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ โรงเรียน อสม. สู่กระบวนการเรียนรู้ เพื่อชุมชน ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L8423-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 กันยายน 2560 - 17 พฤศจิกายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ถ้าหากการผลิตบัณทิตในมหาวิทยาลัยเป็นการเรียนรู้เพื่อให้ดีกรีกับคนและใช้ดีกรีที่ได้รับไปแสวงหางานทำเมื่อออกไปจากรั้วมหาวิทยาลัย การเรียนรู้ของ อสม.คือการเรียนรู้เพื่อที่จะจัดการกับปัญหาในขณะนั้นที่ตัวเองและส่วนรวมเผชิญอยู่ ถ้าหากการเรียนรู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมีเป้าหมายเพื่อให้สามารถออกไปหาทำงานสนองประโยชน์ของตัวเองเป็นที่ตั้ง การเรียนรู้ของ อสม.ชัดเจนว่าเพื่อแก้ปัญหาร่วมกันของชุมชนและสุดท้ายจะส่งผลมาถึงประโยชน์ของตัวเอง ฐานคิดของการเรียนรู้ของ อสม.จึงมีนัยยะของความแตกต่างอยู่บ้างเมื่อเปรียบเทียบกับการเรียนรู้ของสถาบันการศึกษา
โรงเรียน อสม. คือประดิษฐกรรมที่เกิดขึ้นบนฐานการพัฒนาการเรียนรู้ของอาสาสมัครในชุมชนหรือที่เรียกว่า อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่บอกว่าโรงเรียนอสม.เป็นผลมาจากพัฒนาการการเรียนรู้ ก็เนื่องมาจากว่าการเกิดขึ้นของโรงเรียนไม่ได้เกิดจากการคิดตั้งโรงเรียนแต่เกิดจากมีการเรียนรู้มาเรื่อยๆ ภายใต้การทำกิจกรรมต่างๆ ของอสม. และท้ายสุดได้บทเรียนว่าการจัดกระบวนการให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบมากขึ้นจะช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะฉะนั้นจึงมีบทสรุปว่าโรงเรียน อสม.ไม่ได้เกิดจากการคิดตั้งโรงเรียน อสม.แต่เกิดจากการต้องการสร้างการเรียนรู้บนฐานปัญหาจริงของชีวิต เช่นนั้นหากใครคิดตั้งโรงเรียน อสม. โดยการสร้างห้องเรียนและมีหลักสูตรการเรียนเพียงอย่างเดียวเท่านี้ บางทีอาจไม่สามารถบรรลุถึงการเรียนรู้ที่มีชีวิตชีวาและนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนได้
อย่างไรก็ตามภาพความสวยงามของโรงเรียน อสม.นั้นไม่ได้เกิดขึ้นง่ายๆแต่ทว่ามีความยากลำบากอยู่ หลายขั้นตอนกว่าจะพัฒนามาสู่โรงเรียน อสม.ได้ ภารกิจแรกของการก่อเกิดโรงเรียน อสม. ก็คือการทำให้เกิดการเรียนรู้ในกลุ่ม อสม.ก่อน ซึ่งมีทั้งการเริ่มต้นด้วยการทำกิจกรรมอื่นๆมาก่อนหรืออาจเริ่มต้นด้วยการพูดคุยทำความเข้าใจเกี่ยวกับภารกิจของ อสม. หลังจากนั้นจึงสามารถออกแบบให้มีการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องในรูปแบบของโรงเรียน อสม.ได้ ปัจจัยประการต่อมาก็คือการสนับสนุนโดยองค์กรพัฒนาต่างๆที่จะเข้าไปช่วยหนุนเสริมเชิงกระบวนการให้เกิดการออกแบบการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆ นอกจากนี้ยังมีปัจจัยการสนับสนุนที่เป็นปัจจัยภายในของชุมชน เช่น ผู้นำชุมชน อบต. ถ้าหากมีการสนับสนุนจากกลุ่มคนเหล่านี้ก็จะสามารถทำให้โรงเรียน อสม. เกิดขึ้นได้ง่ายยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่ออบรมเตรียมความพร้อม อาสาสมัครสาธาณรสุขประจำหมู่บ้าน ในการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้
- ๒. เพื่อให้ อาสาสมัครสาธาณรสุขประจำหมู่บ้าน มีทักษะและเกิดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
- ๓. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม.สามารถนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. พัฒนาหลักสูตรโรงเรียน อสม. อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ อสม
- กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่1
- กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 2
- กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 3
- กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่4
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
49
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในงานสาธารณสุขที่ถูกต้อง
๒. อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
๓. ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. พัฒนาหลักสูตรโรงเรียน อสม. อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ อสม
วันที่ 8 กันยายน 2559กิจกรรมที่ทำ
๑. พัฒนาหลักสูตรโรงเรียน อสม. อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ อสม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในงานสาธารณสุขที่ถูกต้อง
๒. อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
๓. ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
49
0
2. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่1
วันที่ 18 กันยายน 2560กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่1
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในงานสาธารณสุขที่ถูกต้อง
๒. อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
๓. ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
49
0
3. กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 2
วันที่ 29 กันยายน 2560กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 2
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในงานสาธารณสุขที่ถูกต้อง
๒. อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
๓. ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
49
0
4. กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 3
วันที่ 20 ตุลาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 3
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในงานสาธารณสุขที่ถูกต้อง
๒. อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
๓. ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
49
0
5. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่4
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2560กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่4
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
๑. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในงานสาธารณสุขที่ถูกต้อง
๒. อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
๓. ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
49
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่ออบรมเตรียมความพร้อม อาสาสมัครสาธาณรสุขประจำหมู่บ้าน ในการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้
ตัวชี้วัด :
2
๒. เพื่อให้ อาสาสมัครสาธาณรสุขประจำหมู่บ้าน มีทักษะและเกิดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด :
3
๓. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม.สามารถนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
49
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
49
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่ออบรมเตรียมความพร้อม อาสาสมัครสาธาณรสุขประจำหมู่บ้าน ในการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ (2) ๒. เพื่อให้ อาสาสมัครสาธาณรสุขประจำหมู่บ้าน มีทักษะและเกิดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ (3) ๓. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม.สามารถนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. พัฒนาหลักสูตรโรงเรียน อสม. อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ อสม (2) กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่1 (3) กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 2 (4) กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 3 (5) กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่4
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ โรงเรียน อสม. สู่กระบวนการเรียนรู้ เพื่อชุมชน ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L8423-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอาลาวีสนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ โรงเรียน อสม. สู่กระบวนการเรียนรู้ เพื่อชุมชน ปี 2560 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอาลาวีสนิ
พฤศจิกายน 2560
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L8423-1-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 กันยายน 2560 ถึง 17 พฤศจิกายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ โรงเรียน อสม. สู่กระบวนการเรียนรู้ เพื่อชุมชน ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ โรงเรียน อสม. สู่กระบวนการเรียนรู้ เพื่อชุมชน ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ โรงเรียน อสม. สู่กระบวนการเรียนรู้ เพื่อชุมชน ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L8423-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 กันยายน 2560 - 17 พฤศจิกายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ถ้าหากการผลิตบัณทิตในมหาวิทยาลัยเป็นการเรียนรู้เพื่อให้ดีกรีกับคนและใช้ดีกรีที่ได้รับไปแสวงหางานทำเมื่อออกไปจากรั้วมหาวิทยาลัย การเรียนรู้ของ อสม.คือการเรียนรู้เพื่อที่จะจัดการกับปัญหาในขณะนั้นที่ตัวเองและส่วนรวมเผชิญอยู่ ถ้าหากการเรียนรู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมีเป้าหมายเพื่อให้สามารถออกไปหาทำงานสนองประโยชน์ของตัวเองเป็นที่ตั้ง การเรียนรู้ของ อสม.ชัดเจนว่าเพื่อแก้ปัญหาร่วมกันของชุมชนและสุดท้ายจะส่งผลมาถึงประโยชน์ของตัวเอง ฐานคิดของการเรียนรู้ของ อสม.จึงมีนัยยะของความแตกต่างอยู่บ้างเมื่อเปรียบเทียบกับการเรียนรู้ของสถาบันการศึกษา
โรงเรียน อสม. คือประดิษฐกรรมที่เกิดขึ้นบนฐานการพัฒนาการเรียนรู้ของอาสาสมัครในชุมชนหรือที่เรียกว่า อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ที่บอกว่าโรงเรียนอสม.เป็นผลมาจากพัฒนาการการเรียนรู้ ก็เนื่องมาจากว่าการเกิดขึ้นของโรงเรียนไม่ได้เกิดจากการคิดตั้งโรงเรียนแต่เกิดจากมีการเรียนรู้มาเรื่อยๆ ภายใต้การทำกิจกรรมต่างๆ ของอสม. และท้ายสุดได้บทเรียนว่าการจัดกระบวนการให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบมากขึ้นจะช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะฉะนั้นจึงมีบทสรุปว่าโรงเรียน อสม.ไม่ได้เกิดจากการคิดตั้งโรงเรียน อสม.แต่เกิดจากการต้องการสร้างการเรียนรู้บนฐานปัญหาจริงของชีวิต เช่นนั้นหากใครคิดตั้งโรงเรียน อสม. โดยการสร้างห้องเรียนและมีหลักสูตรการเรียนเพียงอย่างเดียวเท่านี้ บางทีอาจไม่สามารถบรรลุถึงการเรียนรู้ที่มีชีวิตชีวาและนำไปสู่การแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนได้
อย่างไรก็ตามภาพความสวยงามของโรงเรียน อสม.นั้นไม่ได้เกิดขึ้นง่ายๆแต่ทว่ามีความยากลำบากอยู่ หลายขั้นตอนกว่าจะพัฒนามาสู่โรงเรียน อสม.ได้ ภารกิจแรกของการก่อเกิดโรงเรียน อสม. ก็คือการทำให้เกิดการเรียนรู้ในกลุ่ม อสม.ก่อน ซึ่งมีทั้งการเริ่มต้นด้วยการทำกิจกรรมอื่นๆมาก่อนหรืออาจเริ่มต้นด้วยการพูดคุยทำความเข้าใจเกี่ยวกับภารกิจของ อสม. หลังจากนั้นจึงสามารถออกแบบให้มีการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องในรูปแบบของโรงเรียน อสม.ได้ ปัจจัยประการต่อมาก็คือการสนับสนุนโดยองค์กรพัฒนาต่างๆที่จะเข้าไปช่วยหนุนเสริมเชิงกระบวนการให้เกิดการออกแบบการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆ นอกจากนี้ยังมีปัจจัยการสนับสนุนที่เป็นปัจจัยภายในของชุมชน เช่น ผู้นำชุมชน อบต. ถ้าหากมีการสนับสนุนจากกลุ่มคนเหล่านี้ก็จะสามารถทำให้โรงเรียน อสม. เกิดขึ้นได้ง่ายยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่ออบรมเตรียมความพร้อม อาสาสมัครสาธาณรสุขประจำหมู่บ้าน ในการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้
- ๒. เพื่อให้ อาสาสมัครสาธาณรสุขประจำหมู่บ้าน มีทักษะและเกิดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
- ๓. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม.สามารถนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ๑. พัฒนาหลักสูตรโรงเรียน อสม. อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ อสม
- กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่1
- กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 2
- กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 3
- กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่4
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 49 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในงานสาธารณสุขที่ถูกต้อง ๒. อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ ๓. ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. พัฒนาหลักสูตรโรงเรียน อสม. อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ อสม |
||
วันที่ 8 กันยายน 2559กิจกรรมที่ทำ๑. พัฒนาหลักสูตรโรงเรียน อสม. อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ อสม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในงานสาธารณสุขที่ถูกต้อง ๒. อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ ๓. ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
|
49 | 0 |
2. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่1 |
||
วันที่ 18 กันยายน 2560กิจกรรมที่ทำกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในงานสาธารณสุขที่ถูกต้อง ๒. อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ ๓. ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
|
49 | 0 |
3. กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 29 กันยายน 2560กิจกรรมที่ทำกิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 2 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในงานสาธารณสุขที่ถูกต้อง ๒. อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ ๓. ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
|
49 | 0 |
4. กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 20 ตุลาคม 2560กิจกรรมที่ทำกิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 3 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในงานสาธารณสุขที่ถูกต้อง ๒. อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ ๓. ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
|
49 | 0 |
5. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่4 |
||
วันที่ 17 พฤศจิกายน 2560กิจกรรมที่ทำกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่4 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น๑. อสม. มีความรู้ และทักษะ ในงานสาธารณสุขที่ถูกต้อง ๒. อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้ ให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ ๓. ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
|
49 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่ออบรมเตรียมความพร้อม อาสาสมัครสาธาณรสุขประจำหมู่บ้าน ในการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | ๒. เพื่อให้ อาสาสมัครสาธาณรสุขประจำหมู่บ้าน มีทักษะและเกิดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | ๓. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม.สามารถนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 49 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 49 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่ออบรมเตรียมความพร้อม อาสาสมัครสาธาณรสุขประจำหมู่บ้าน ในการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ (2) ๒. เพื่อให้ อาสาสมัครสาธาณรสุขประจำหมู่บ้าน มีทักษะและเกิดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ (3) ๓. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะทางด้านวิชาการสาธารณสุขเพื่อให้ อสม.สามารถนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติและแก้ไขปัญหาในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑. พัฒนาหลักสูตรโรงเรียน อสม. อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ อสม (2) กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่1 (3) กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 2 (4) กิจกรรมแลกเปลีียนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่ 3 (5) กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อสม.ครั้งที่4
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ โรงเรียน อสม. สู่กระบวนการเรียนรู้ เพื่อชุมชน ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60-L8423-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอาลาวีสนิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......